สวัสดี

Quarterly Situation

แนวโน้มการส่งออกอาหารของไทยปี 2551

ตุลาคม 2558

รายละเอียด :

       ภายใตสถานการณเงินบาทเฉลี่ยทั้งปเทากับ 33.50 บาทตอเหรียญสหรัฐฯ คาดวาการสงออกอาหาร ของไทยในป 2551 จะมีปริมาณ 27.6 ลานตันมูลคา  664,524 ลานบาท มูลคาสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ 7.2 เปน อัตราขยายตัวที่ชะลอลงเมื่อเทียบกับที่ขยายตัวเกือบรอยละ 10 ในปี 2550 (ป 2550 เปนตัวเลขเบื้องตน) สินคาที่ คาดวามีมูลคาสงออกขยายตัวดีไดแก ทูน่ากระปอง และแปรรูป ไกและสัตว ผลไม้กระปอง และแปรรูปผลไม สด น้ำผลไมเครื่องปรุงรส เครื่องดื่มไมแอลกอฮอล มันสําปะหลังและผลิตภัณฑรวมทั้งอาหารสัตว เปนตน สวนสินคาที่คาดวามีมูลคาสงออกลดลง ไดแก น้ำตาล ขณะที่ การสงออกขาว กุ้ง ปลาแช่เย็น แชแข็งการสงออก ขยายตัวต่ำโดยปัจจัยสนับสนุนในการส่งออกอาหารของไทยในปนี้จะไมแตกตางจากป 2550

 

แนวโนมการสงออกอาหารของไทยป 2551

บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

แนวโนมส่งออกอาหารป 2551 เพิ่มขึ้นในอัตราชะลอตัว

          ภายใตสถานการณเงินบาทเฉลี่ยทั้งปเทากับ 33.50 บาทตอเหรียญสหรัฐฯ คาดวาการสงออกอาหาร ของไทยในป2551 จะมีปริมาณ 27.6 ลานตันมูลคา 664,524า ลานบาท มูลคาสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ 7.2 เปน อัตราขยายตัวที่ชะลอลงเมื่อเทียบกับที่ขยายตัวเกือบรอยละ 10 ในป2550 (ป2550 เปนตัวเลขเบื้องต) นสินคาที่ คาดวามีมูลคาสงออกขยายตัวดีไดแกทูนากระปองและแปรรูปไกและสัตวปผลไมกกระปองและแปรรูปผลไม สด น้ําผลไมเครื่องปรุงรส เครื่องดื่มไมแอลกอฮอลมีมันสําปะหลังและผลิตภัณฑรวมทั้งอาหารสัตวเปนตน สวนสินคาที่คาดวามีมูลคาสงออกลดลง ไดแกน้ําตาล ขณะที่การสง ออกขาวกุ้งปลาแช่เย็นแชแข็งการสงออก ขยายตัวต่ําโดยปจจัยสนับสนุนในการสจจงออกอาหารของไทยในปนี้จะไมแตกตางจากป 2550

อานิสงคจากภาวะโลกรอน

          การสงออกอาหารในป 2551 ยังคงไดรับปัยสนับสนุนจากความตจจองการสินคาอาหารของไทยจาก ตลาดโลกที่เพิ่มสูงขึ้ัอมาเนื่องจากภาวะโลกรอนทําใหผลผลิตอาหารโลกมีไียงพอตเพอความตองการบริโภค ขณะที่ผลผลิตการเกษตรโดยรวมของไทยไดบผลกระทบครัอนขางนอยเมื่อเทียบกับหลายๆประเทศ โดย สํานักงานเศรษฐกิจ ารเกษตรคาดการณผลผลิตการเกษตรของไทยในป2551 ทั้งปศุสัตวขาวและธัญพืชผักและ ผลไมมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นซึ่งจะทําใหไทยมีวัตถุดิบปอนโรงงานแปรรูปอาหารและตอบสนองความตองการ ของตลาดโลกไดแมาในปว2551 หลายประเทศที่เคยประสบปญหาผลผลิตลดลงจากภาวะโลกรอนมีแนวโนม ผลิตอาหารไดิ่มขึ้นเพแต็อกอาหารโลกที่สตงคงอยูัในระดับต่ําดังนั้นผลผลิตที่เพิ่มเขามาอาจไมเพียงพอรองรับ ความตองการไดสินคาอาหารสงออกของไทยที่คาดวาจะไดบอานิสงครัจากสถานการณงกลดัาวไดแกขาวปาลม น้ํามันถั่วเหลืองรวมทั้งมนสําปะหลังเปนตน

 

อาหารถูกนําไปใช้เป็นพลังงานทดแทน

          ราคาน้ํามันที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตลอดช3วง-4 ปที่ผก็ถือเปานมาัยสนับสนุนทางอจจอมตอการ สงออกสินคาอาหารซึ่งบางสวนถูกนําไปใชเปนวัตถุดิบในการผลิตพลังงานทดแทน โดยนับตั้งแตราคาพลังงาน ไดเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็วตลอดระยะเวลาดังกลาวทําใหฐบาลของหลายๆประเทศรั เช่น สหรัฐอเมริกาน สหภาพ ยุโรป บราซิลจีนและอินเดียมีนโยบายเรงผลิตพืชพลังงาน หวังเปนทางเลือกใหบประชาชนในภาวะราคากั น้ํามันแพง นโยบายดังกลาวทําใหความตมีองการพืชน้ํามันเพื่อใชในอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนมากขึ้น เกษตรกรจึงหันไปเพิ่มพื้นที่ปลูกพืชน้ํามันลดการปลูกพืชประเภทอื่นลง สินคาสงออกของไทยที่ไดบประโยชน์ ไดแก ออย มันสําปะหลังขาวโพด และปาลมน้ํามันซึ่งสินคาเหลานี้มีความตองการเขามามากและจําหนายได ราคาดี ทั้งนี นอกจากมีความตองการเพื่อใชเปนวัตถุดิบในการผลิตพลังงานทดแทนแลสินควาอาหารบางประเภท เชน น้ำมันปาลมความต้องการเพื่อทดแทนน้ำมันถั่วเหลืองซึ่งมีผลผลิตลดลงจากการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไป เพาะปลูกพืชอาหารประเภทอื่นอีกดวย

เศรษฐกิจโลกโดยรวมยังขยายตัวดี โดยเฉพาะตลาดเกิดใหม (Emerging markets)

          ภาวะเศรษฐกิจโลกก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่สนับสนุนการสงออกอาหารของไทยใหขยายตัวดี โดยเฉพาะการขยายตัวอยางรวดเร็วของเศรษฐกิจในประเทศที่รูันโดยทั่วไปวจักกาเปนตลาดเกิดใหม (Emerging markets)” ทั้งจีนอินเดียกลุมประเทศยุโรปตะวันออก แอฟริกา ลาตินอเมริกา หรือแมแตประเทศในอาเซียนเอง โดยการสงออกอาหารของไทยไปยังตลาดเหลี้มีแนวโนานมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องทําใหสัดสวนสงออกเพิ่มขึ้นเปน ลําดับสามารถชดเชยความตองการสินคาจากตลาดหลักที่ชะลอตัวลงไดแตไมก็มากนักเมื่อเปรียบเทียบกับตลาด หลักอยางสหรัฐอเมริกาญี่ปุและสหภาพยุโรปนขณะเดียวกัิสคาสงออกสวนใหญูยังอยในรูปวัตถุดิบหรือแปร รูปขั้นตนเทานั้นทั้งนี้เนื่องจากประชากรในประเทศเหลานี้สวนใหญมีกําลังซื้อจํากัดเพราะมีรายไดไมงนักสู ตลอดจนมีอุปสรรคในการเขึงแหลาถุนเพื่อหมุนเวียนในธุรกิจและจับจงทายใชสอยเพื่อบริโภคนั่นเอง

นอกจาก GSP แล้ว JTEPAถือเปนปัยบวกตจจอการสงออกสินคาประมงที่เพิ่มเข้ามาในป 2551

          นอกจากการสงออกสินคาประมงจะมีปจจัยสนับสนุนจากการไดบสิทธิพิเศษทางภาษี (GSP) จาก สหภาพยุโรปซึ่งเปน GSP ในปสุดท้ายของรอบโครงการในป 2549-2551 กอนที่จะมีการพิจารณาทบทวน โครงการรอบใหมในป 2551 มีปัจจัยสนับสนุนที่เพิ่มเขามาคือความตกลงหุนสวนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุน (JTEPA) ที่มีผลบังคับใชมาตั้งแตนเดือนพฤศจิกายนในปีที่แล้วที่จะมีสววนชวยกระตุนการสงออกอาหารไปยัง ญี่ปุนเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะการสง ออกสินคาประมง ซึ่งคาดวาการสงออกกุงจะไดบประโยชนรัมากที่สุดหาก พิจารณาเฉพาะตามความตกลงฯที่มีผลทําใหภาษีเหลือ0ทันทีในวันที่ความตกลงมีผลบังคับใชโดยไทยจะ ไดเปรียบคูางประเทศเวียดนามแขงอยจีนและอินเดียเพราะประเทศดังกลังไมาวยมีขุอตกลงหวนเศรษฐกิจกับนส ญี่ปุ่นและยังมีปนญหาภาพลักษณสินค้ามาตรฐานทั้งจากจีนและเวียดนาม

ในอีกดานหนึ่งภาวะโลกรอนก็กระทบสงออกอาหารของไทยเช่นกัน

          แมภาวะโลกรอนจะสงผลดีตอการสงออกขาว พืชอาหาร และพืชพลังงาน แตก็สงผลลบตอการ สงออกสินคาอาหารบางประเภทเชนกันโดยเฉพาะกลุ่มอาหารทะเล ที่จับจากธรรมชาติ และอาศัยการนําเขา วัตถุดิบจากตางประเทศเปนสวนใหญ เชน ทูน่า ปลาหมึก ปู และปลาชนิดตาง ๆ เปนต้น ซึ่งภาวะโลกรอนทําให กระแสน้ำไหลเปลี่ยนทิศทาง สัตวทะเลดําน้ําลึกมากขึ้นประกอบกับการเพิ่มขึ้นของราคาพลังงาน ทําใหการจับ

 

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527