สวัสดี

Quarterly Situation

พยากรณ์แนวโน้มการส่งออกอาหารของไทยปี 2550 (ก.พ. 2550)

ตุลาคม 2558

รายละเอียด :

       การค่าอาหารของไทยในปี 2549 โดยภาพรวมขยายตัวดีโดยมีปัจจัยสนับสนุนจากราคาน้ำมันในตลาดโลก ที่ปรับตัวลดลง ชวยคลายความกดดันตอระดับราคาและภาวะเศรษฐกิจโลกลงมาก ปญหาการกีดกันทางการคา

การค่าอาหารของไทยปี 2549 และแนวโนมปี 2550

1. ภาพรวมการคาอาหารของไทยปี 2549

          การค่าอาหารของไทยในปี 2549 โดยภาพรวมขยายตัวดีโดยมีปัจจัยสนับสนุนจากราคาน้ำมันในตลาดโลก ที่ปรับตัวลดลง ชวยคลายความกดดันตอระดับราคาและภาวะเศรษฐกิจโลกลงมาก ปญหาการกีดกันทางการคา

          โดยเฉพาะอัตราภาษีภายใตมาตรการตอตานการทุมตลาดกุงของสหรัฐอเมริกาที่เรียกเก็บจากไทยยังคงไดเปรียบ ประเทศคูแขงที่สําคัญ สวนสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรที่สหภาพยุโรปคืนใหแกสินคาประมงของไทยเมื่อปที่ผานมา สงผลดีตอภาวะการแขงขันทําใหยอดสงออกกุงของไทยเพิ่มขึ้นมาก และที่สําคัญสินคาอาหารสงออกของไทยมี ความไดเปรียบในเรื่องของคุณภาพและความปลอดภัยสูง ถือเปนความแตกตางและจุดแข็งที่ประเทศคูแขงยังไม สามารถพัฒนาใหเทียบเท่าได

          อย่างไรก็ตาม เงินบาทที่แข็งคาตอเนื่องตลอดป 2549 เปนสาเหตุที่บั่นทอนความสามารถในการแขงขันดาน ราคาของสินคาไทยในตลาดโลก (โดยเฉพาะสินคาที่มีความออนไหวตอรา คา: Price-Sensitive) สงผลใหปริมาณ การคา(Trade Volume) ของไทยขยายตัวต่ํากวาที่ควรจะเปนขณะเดียวกันสาเหตุดังกลาวสงผลกระทบทําให รายไดจากการสงออกในรูปเงินบาทลดต่ําลง สวนมูลคาสงออกในรูปเงินตราตางประเทศขยายตัวได ดีราคาสินคา วัตถุดิบอาหารนําเขาที่ลดลงจากการแข็งคาของเงินบาทสงผลใหมูลคาการนําเขาเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย

1 มูลค่าสงออกในรูปเงินตราตางประเทศคํานวณจากอัตราแลกเปลี่ยนอ้างอิง (Reference rate) ของธนาคารแหงประเทศไทย ซึ่งมูลคาการคาจริง ในรูปดอลลารอาจมากกว่าหรือนอยกวามูลคาการค้าที่คํานวณไว้ในตารางเล็กนอย

2. สถานการณ์ส่งออกป 2549

การสงออกสินค้าอาหารในป 2549 มีมูลคา563,911 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 8.5 จากป2548 ต่ํากวา อัตราขยายตัวในรูปดอลลารซึ่งเพิ่มขึ้นรอยละ 15.2 มูลคาสงออก 14,868 ลานเหรียญสหรัฐฯ โดยมีสินคาอาหารสงออกที่ สําคัญ ได้แก่

 

  1. ทูนาสด แชเย็นแชแข็ง มีมูลคาสงออก 1,393 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 35.9) สวนสินคาประมงกลุมอื่นๆสวนใหญมี มูลคาสงออกลดลง (รายละเอียดดูตารางสถิติแนบท้าย)
  1. , การสงออกข้าวขาว มีมูลคา25,720 ลานบาท ลดลงรอยละ 3.1, การสงออกข้าวนึ่ง มีมูลคา18,656 ลานบาท ลดลง รอยละ 13.2 , การส่งออกข้าวเหนียว มีมูลคา3,401 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 33.8

 

 

กลุมสินค้าน้ำตาลและน้ำผึ้ง มูลคาสงออก 28,717 ลานบาท ลดลงรอยละ 2.9 (หรือ 757 ลาน เหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นรอยละ 3.1) สินคาสงออกสําคัญ ไดแกน้ำตาลดิบจากออยชนิดเซนตริฟวกัล มีมูลคาสงออก 13,460 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 2.6, การสงออกน้ำตาลทรายขาว มีมูลคา13,026 ลานบาท ลดลงรอยละ 10.1, การ สงออกน้ําตาลดิบจากออยที่ไมเติมสารปรุงกลิ่น รส หรือสารแตงสีมีมูลคาสงออก 614 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 183.4

กลุมสินคาผัก มูลคาสงออก 17,942 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 10.2 (หรือ 473 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นรอยละ 17.0) สินคาสงออกสําคัญ ไดแกผักปรุงแตมูลคาสงออก 10,893 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 19.5 (ข าวโพด หวานปรุงแตงมีมูลคาสงออก 4,306 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 42.0, ขาวโพดออนปรุงแตงมีมูลคาสงออก 2,154 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 4.9, หนอไมปรุงแตงมีมูลคาสงออก 589 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 22.2) การสงออกผักสด

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527