สวัสดี

Quarterly Situation

รายงานสถานการรณ์ส่งออกทูน่าแปรรูป

ตุลาคม 2558

รายละเอียด :

อุตสาหกรรมทูนาแปรรูป1ของไทยจัดไดวาเปนอุตสาหกรรมที่มีมูลคาเพิ่มสูง (High value added) จากการนําเขา วัตถุดิบเพื่อนํามาแปรรูปเปนสินคาสง ออกเปนหลัก โดยอาศัยความพรอมทางดานทักษะฝมือแรงงาน ศักยภาพของ ผูประกอบการไทยในการพัฒนาคุณภาพ และความหลากหลายของสินคาใหเปนที่ตองการของตลาดไดเปนอยางดีทําให ไทยเปนประเทศผู้ส่งออกผลิตภัณฑทูนากระปองและทูนาแปรรูปรายใหญที่สุดของโลกในปจจุบัน

อุตสาหกรรมทูน่าแปรรูปของไทย : สถานการณ์และแนวโน้มการแข่งขันในอนาคต

1. ข้อเท็จจริง

          อุตสาหกรรมทูนาแปรรูป1ของไทยจัดไดวาเปนอุตสาหกรรมที่มีมูลคาเพิ่มสูง (High value added) จากการนําเขา วัตถุดิบเพื่อนํามาแปรรูปเปนสินคาสงออกเปนหลัก โดยอาศัยความพรอมทางดานทักษะฝมือแรงงาน ศักยภาพของ ผูประกอบการไทยในการพัฒนาคุณภาพ และความหลากหลายของสินคาใหเปนที่ตองการของตลาดไดเปนอยางดีทําให ไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกผลิตภัณ์ทูน่ากระปองและทูนาแปรรูปรายใหญที่สุดของโลกในปัจจุบัน

          อุตสาหกรรมทูนาของไทยเปนหนึ่งในอุตสาหกรรมอาหารที่สรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจแกประเทศอยางมาก เห็นไดจากตลอดระยะเวลา 5-6 ปที่ผานมา ทูนากระปองและผลิตภัณฑทูนาแปรรูปสงออกของไทยสามารถสรางรายได เขาประเทศเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยในป2548 มีมูลคาสงออกสูงถึงกวา45,500 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 0.64 ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ นอกจากอุตสาหกรรมทูนาของไทยจะสามารถสรางรายไดที่เปนเงินตราตางประเทศ อยางมหาศาลในแตละปแลวดวยลักษณะโครงสรางของอุตสาหกรรมโดยทั่วไปที่เนนการใชแรงงานเขมขน (Labor intensive) การขยายตัวของอุตสาหกรรมนี้จึงมีความสําคัญตอการจางงานและการกระจายรายไดไปสูภูมิภาคอีกดวย แต ในทางตรงกันขาม ปญหาเกี่ยวของกับแรงงาน เชนการขาดแคลนแรงงาน หรือคาจางแรงงานที่สูงขึ้น นับเปนอุปสรรค สําคัญที่กระทบตอการขยายตัวของอุตสาหกรรมไดเชนกัน

ที่มา: ศูนยสารสนเทศ สถาบันอาหาร และธนาคารแหงประเทศไทย

หมายเหตุ:p = GDP เปนตัวเลขเบื้องตนจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

          ปจจุบันศักยภาพแรงงานที่ถือไดวาเปนจุดแข็งของอุตสาหกรรมทูนาของไทยที่เคยมีมาในอดีต เริ่มมีสัญญาณ ความไดเปรียบลดนอยถอยลง อัตราคาจางแรงงานที่ปรับตัวสูงขึ้นเรื่อยๆตามภาวะตนทุนคาครองชีพ และพฤติกรรมการ ทํางานที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคม สงผลใหภาวะอุตสาหกรรมเริ่มเกิดการขาดแคลนแรงงานมีฝมือที่ตองอาศัยการ อบรมทักษะขั้นตนจําเปนตองพึ่งพาแรงงานตางดาวที่ยังขาดทักษะและมักเกิดปญหาการเขาออกงานสูง

          ขณะเดียวกัน ความจําเปนที่ตองนําเขาวัตถุดิบจากตางประเทศในสัดสวนสูง ซึ่งราคานําเขามักสัมพันธกับการ เปลี่ยนแปลงของสถานการณโลก อีกทั้งการพึ่งพาตลาดภายนอกประเทศในการกระจายสินคารายไดสวนใหญของ กิจการจึงอยูในรูปเงินตราตางประเทศ (สวนใหญเปนเงินสกุลดอลลารสหรัฐฯ) ทําใหผูประกอบการมีตนทุนเพิ่มในการ บริหารความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งปจจัยภายนอกเหลานี้เปนประเด็นทาทายสําหรับ ผูประกอบการของไทยในการปรับกลยุทธการบริหารงานใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงดังกลาวซึ่งในที่สุดแลวสิ่ง เหลานี้ถือเปนภาพสะทอนถึงศักยภาพการแขงขันของอุตสาหกรรมทูนาของไทยในระดับประเทศโดยรวม

  1. ภาวะการผลิตและราคา
  2. สถานการณ์ทูน่าโลก

2.1.1 ปริมาณการจับทูน่า

          ในชวงป 2530 ผลผลิตทูนาทั่วโลกที่ไดจากการจับมีประมาณ 2.3 ลานตัน และขยับเพิ่มขึ้นเปน3 ลานตัน ในชวงป2535-2540 หลังจากนั้น ความนิยมในการบริโภคทูนาที่เพิ่มสูงขึ้น ทําใหผูประกอบการเล็งเห็นวาสามารถสราง มูลคาทางเศรษฐกิจไดมาก ประกอบกับมีการพัฒนาเทคโนโลยีการจับปลาที่ทันสมัย ทําใหปริมาณทูนาที่จับไดเพิ่มขึ้น อยางรวดเร็วจนมีปริมาณมากกวา4 ลานตันในป2545 และปริมาณการจับไดสูงสุดเกือบ 4.3 ลานตันในป2546 กอนที่จะ ลดลงเล็กนอยเหลือเพียง 4.1 ล้านตันในปี 2547

          ในป 2530-2531 การจับทูนากระจุกตัวอยูเพียงไมกี่ประเทศ โดยที่ผลผลิต 2 ใน 3 มาจากกองเรือประมงของ ประเทศญี่ปุนไตหวัน อินโดนีเซีย ฟลิปปนสสเปน เกาหลีใตซึ่งนับแตอดีต ญี่ปุนเปนประเทศที่จับทูนาไดมากที่สุดของ โลก โดยในชวงดังกลาวญี่ปุนสามารถจับทูนาไดประมาณ 1 ใน 3 ของผลผลิตโลก ทวาปริมาณการจับทูนาของญี่ปุนมี แนวโนมลดลงเรื่อยๆ ปจจุบันมีสวนแบงอยูประมาณรอยละ 13 ขณะที่ไตหวันเปนประเทศที่สามารถจับทูนาไดเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่อง โดยในป2530 สามารถจับไดดวยปริมาณใกลเคียงกับสเปนประมาณ 2 แสนตัน ลาสุดในป2547 ปริมาณทู นาที่ไตหวันจับไดอยูที่ประมาณ 4.4 แสนตัน หลังจากที่เคยเพิ่มสูงสุดเกือบ 5 แสนตันในป2545 อยางไรก็ตามในระยะ หลังมีประเทศอื่นๆนอกเหนือจากที่กลาวเขามาแบงปนผลประโยชนจากการจับทูนามากขึ้น ทําใหสวนแบงผลผลิตเริ่ม กระจายไปสูประเทศอื่นๆมากขึ้นเปนลําดับ

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527