สวัสดี

Monthly Situation

การประเมินผลกระทบของอุตสาหกรรมกุ้งไทยจากกรณีมาตรการ IRA ของออสเตรเลีย

เมษายน 2550

รายละเอียด :

เรื่อง …การประเมินผลกระทบของอุตสาหกรรมกุงไทยจากกรณีมาตรการ IRA ของออสเตรเลีย

การประเมินผลกระทบของอุตสาหกรรมกุงไทยจากกรณีมาตรการ IRA ของออสเตรเลีย 

                       โดย สถาบันอาหาร 

ประเทศไทยเปนประเทศทมี่ีการสงออกอาหารทะเลและผลิตภัณฑมากเปนอันดับตนๆ ของโลก โดยมี ตลาดหลักคือ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุน   ในระยะที่ผานมา ผูสงออกไทยตองเผชญิกับปญหาและอุปสรรคจากการกีดกันทางการคาในรูปแบบ ตางๆ เชน มาตรการเอดี หรอืมาตรการตอตานการทุมตลาดกุงของสหรฐัอเมริกา มาตรการอาหารปลอดภัยหรือ ปลอดสารตกคางของสหภาพยุโรป และลาสุดคือมาตรการ IRA ซึ่งหนวยงานดานความปลอดภัยทางชวีภาพ หรือ Biosecurity Australia Policy Memorandum (BAPM) ของประเทศออสเตรเลียไดจดัทําราง “วิเคราะห ความเสี่ยงของการนําเขากุงและหรือผลิตภณัฑจากกุง” หรือ Import Risk, Analysis Report Prawns and Prawns Products ซึ่งขณะนี้อยูระหวางการพิจารณารับฟงความเห็นจากผูเกยี่วของ สถาบันอาหาร กระทรวง อุตสาหกรรม เห็นวาหากออสเตรเลียบังคับใชมาตรการ IRA อยางเตม็รูปแบบจะสงผลตอผูสงออกไทยที่มีฐาน ลูกคาอยูในออสเตรเลีย และอุตสาหกรรมกุงไทยอยางแนนอน เนื่องจากออสเตรเลียเปนตลาดสงออกกุงที่สําคัญ อันดับ 6 ของไทย  ทั้งนี้ ที่ผานมาสัดสวนปริมาณการสงออกกุงของไทยไปยังออสเตรเลียมีแนวโนมเพิ่มสูงข้ึนอยาง ตอเนื่องเมื่อเทยีบกับปริมาณการสงออกกุงโดยรวมของไทย โดยเพิ่มขึ้นจาก 3.0% ในป  2545 เปน 3.7% ในป 2548 และ 5.1% ในป 2549 ในขณะที่สัดสวนมูลคาการสงออกกุงนั้นเพมิ่สูงขึ้นอยางตอเนื่องในชวงป 2545 ถึง 2548 โดยเพิ่มขึ้นจาก 2.5% เปน 3.4% กอนจะปรับตวัลดลงอยางมากในป 2549 เหลือเพียง 2.6% สาเหตุสําคัญ สวนหนึ่งมาจากการปรับเปลี่ยนชนิดของกุงที่เลี้ยงและสงออก โดยมีการเลี้ยงกุงขาวแทนกุงกุลาดํากันมากขึ้น ลาสุดคาดวาจะมีจํานวนมากถึงกวา 90% ของปริมาณการเลี้ยงทั้งหมด ซึ่งราคาสงออกหรือราคาขายของกุงขาว จะต่ํากวากุงกลุาดํา อีกทั้งขนาดของกุงที่สงออกก็ลดลง สงผลใหมูลคาสงออกของไทยปรบัตัวลดลงแมวา ปริมาณการสงออกจะเพิ่มขึ้นก็ตาม  จากการประเมนิของสถาบันอาหารคาดวาหากออสเตรเลียมีการบังคับใชมาตรการ IRA อยางเต็ม รูปแบบจะสงผลกระทบตออุตสาหกรรมกุงไทยในภาพรวมในเชิงปรมิาณไมเกิน 15,000 ตัน คิดเปนมูลคา ประมาณ 2,000 ลานบาทตอป  

เรื่อง …การประเมินผลกระทบของอุตสาหกรรมกุงไทยจากกรณีมาตรการ IRA ของออสเตรเลีย

การประเมินผลกระทบของอุตสาหกรรมกุงไทยจากกรณีมาตรการ IRA ของออสเตรเลีย 

                       โดย สถาบันอาหาร 

ประเทศไทยเปนประเทศทมี่ีการสงออกอาหารทะเลและผลิตภัณฑมากเปนอันดับตนๆ ของโลก โดยมี ตลาดหลักคือ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุน   ในระยะที่ผานมา ผูสงออกไทยตองเผชญิกับปญหาและอุปสรรคจากการกีดกันทางการคาในรูปแบบ ตางๆ เชน มาตรการเอดี หรอืมาตรการตอตานการทุมตลาดกุงของสหรฐัอเมริกา มาตรการอาหารปลอดภัยหรือ ปลอดสารตกคางของสหภาพยุโรป และลาสุดคือมาตรการ IRA ซึ่งหนวยงานดานความปลอดภัยทางชวีภาพ หรือ Biosecurity Australia Policy Memorandum (BAPM) ของประเทศออสเตรเลียไดจดัทําราง “วิเคราะห ความเสี่ยงของการนําเขากุงและหรือผลิตภณัฑจากกุง” หรือ Import Risk, Analysis Report Prawns and Prawns Products ซึ่งขณะนี้อยูระหวางการพิจารณารับฟงความเห็นจากผูเกยี่วของ สถาบันอาหาร กระทรวง อุตสาหกรรม เห็นวาหากออสเตรเลียบังคับใชมาตรการ IRA อยางเตม็รูปแบบจะสงผลตอผูสงออกไทยที่มีฐาน ลูกคาอยูในออสเตรเลีย และอุตสาหกรรมกุงไทยอยางแนนอน เนื่องจากออสเตรเลียเปนตลาดสงออกกุงที่สําคัญ อันดับ 6 ของไทย  ทั้งนี้ ที่ผานมาสัดสวนปริมาณการสงออกกุงของไทยไปยังออสเตรเลียมีแนวโนมเพิ่มสูงข้ึนอยาง ตอเนื่องเมื่อเทยีบกับปริมาณการสงออกกุงโดยรวมของไทย โดยเพิ่มขึ้นจาก 3.0% ในป  2545 เปน 3.7% ในป 2548 และ 5.1% ในป 2549 ในขณะที่สัดสวนมูลคาการสงออกกุงนั้นเพมิ่สูงขึ้นอยางตอเนื่องในชวงป 2545 ถึง 2548 โดยเพิ่มขึ้นจาก 2.5% เปน 3.4% กอนจะปรับตวัลดลงอยางมากในป 2549 เหลือเพียง 2.6% สาเหตุสําคัญ สวนหนึ่งมาจากการปรับเปลี่ยนชนิดของกุงที่เลี้ยงและสงออก โดยมีการเลี้ยงกุงขาวแทนกุงกุลาดํากันมากขึ้น ลาสุดคาดวาจะมีจํานวนมากถึงกวา 90% ของปริมาณการเลี้ยงทั้งหมด ซึ่งราคาสงออกหรือราคาขายของกุงขาว จะต่ํากวากุงกลุาดํา อีกทั้งขนาดของกุงที่สงออกก็ลดลง สงผลใหมูลคาสงออกของไทยปรบัตัวลดลงแมวา ปริมาณการสงออกจะเพิ่มขึ้นก็ตาม  จากการประเมนิของสถาบันอาหารคาดวาหากออสเตรเลียมีการบังคับใชมาตรการ IRA อยางเต็ม รูปแบบจะสงผลกระทบตออุตสาหกรรมกุงไทยในภาพรวมในเชิงปรมิาณไมเกิน 15,000 ตัน คิดเปนมูลคา ประมาณ 2,000 ลานบาทตอป  

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527