สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนกันยายน 2554

กันยายน 2554

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

สรุปการค้าอาหารเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2554

 
          ภาวะการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหาร ชวงเดือน มกราคม – กรกฎาคม 2554 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติให การสงเสริม จํานวนทั้งสิ้น 70 โครงการ เงินลงทุนรวม 28,584 ลานบาท และมีการจางงานรวม 15,431 คน เมื่อ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอน จํานวนโครงการขยายตัว เพิ่มขึ้น 11 โครงการ มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้น 13,090 ลานบาท และปริมาณการจางงานปรับเพิ่มข้ึน 5,053 คน  จํานวนผูประกอบธุรกิจที่ไดรับอนุญาตและเริ่ม กิจการในเดือนสิงหาคม 2554 มีจํานวน 8 โรงงาน ใชเงิน ลงทุนมูลคารวม 41 ลานบาท และมีการจางงานเพิ่ม 60 คน สวนผูประกอบธุรกิจขอเลิกกิจการมีจํานวน 3 โรงงาน เงิน ลงทุนที่ใชไปมีมูลคารวม 29 ลานบาท และเลิกจางงาน จํานวน 11 คน โดยรอยละ 45.45 เลิกจางงานในเขตจังหวัด พัทลุง     ภาวะการผลิตโดยรวมของอุตสาหกรรมในเดือน กรกฎาคม 2554 ปรับตัวเพิ่มขึ้น จากปริมาณวัตถุดิบที่เขา สูตลาดเพิ่มมากขึ้น ทําใหผูผลิตเพิ่มกําลังการผลิตเพ่ือ รองรับกับความตองการในตลาดที่มีเพิ่มมากขึ้นตอเนื่อง ซึ่งสงผลใหดัชนีการสงสินคาปรับเพิ่มขึ้น และปริมาณ สินคาคงคลังปรับเพิ่มขึ้นเชนกัน 

 

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

สรุปการค้าอาหารเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2554

 
          ภาวะการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหาร ชวงเดือน มกราคม – กรกฎาคม 2554 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติให การสงเสริม จํานวนทั้งสิ้น 70 โครงการ เงินลงทุนรวม 28,584 ลานบาท และมีการจางงานรวม 15,431 คน เมื่อ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอน จํานวนโครงการขยายตัว เพิ่มขึ้น 11 โครงการ มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้น 13,090 ลานบาท และปริมาณการจางงานปรับเพิ่มข้ึน 5,053 คน  จํานวนผูประกอบธุรกิจที่ไดรับอนุญาตและเริ่ม กิจการในเดือนสิงหาคม 2554 มีจํานวน 8 โรงงาน ใชเงิน ลงทุนมูลคารวม 41 ลานบาท และมีการจางงานเพิ่ม 60 คน สวนผูประกอบธุรกิจขอเลิกกิจการมีจํานวน 3 โรงงาน เงิน ลงทุนที่ใชไปมีมูลคารวม 29 ลานบาท และเลิกจางงาน จํานวน 11 คน โดยรอยละ 45.45 เลิกจางงานในเขตจังหวัด พัทลุง     ภาวะการผลิตโดยรวมของอุตสาหกรรมในเดือน กรกฎาคม 2554 ปรับตัวเพิ่มขึ้น จากปริมาณวัตถุดิบที่เขา สูตลาดเพิ่มมากขึ้น ทําใหผูผลิตเพิ่มกําลังการผลิตเพ่ือ รองรับกับความตองการในตลาดที่มีเพิ่มมากขึ้นตอเนื่อง ซึ่งสงผลใหดัชนีการสงสินคาปรับเพิ่มขึ้น และปริมาณ สินคาคงคลังปรับเพิ่มขึ้นเชนกัน 

 

มูลคาการนําเขาสินคาเกษตรและอาหารในชวง เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2554 มีมูลคารวม 184,199 ลาน บาท ปริมาณนําเขารวม 7.01 ลานตัน ทั้งมูลคาและปริมาณ ปรับเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 25.24 และ 11.19 จากคําสั่งซื้อที่มีตอเนื่อง ทําใหผูผลิตตองนําเขา วัตถุดิบเพิ่มมากขึ้น ไดแก ถั่วเหลือง ปลาสคิปแจ็ก ขาวสาลี และนม/ครีมที่ทําใหเขมขน  มูลคาการสงออกสินคาเกษตรและอาหารในชวง เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2554 มีมูลคารวม 563,888 ลาน บาท ปริมาณสงออกรวม 20.66 ลานตัน ทั้งมูลคาและ ปริมาณปรับเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 18.99 และ 13.39 จากความตองการบริโภคที่มีตอเนื่อง ทํา ใหสินคาสงออกปรับเพิ่มขึ้น ไดแก ขาวเจาขาวอื่น 5% น้ําตาลทรายดิบ ขาวนึ่ง ไกแปรรูป และทูนากระปอง ฝนที่ตกหนักและเกิดน้ําทวมในพื้นที่เพาะปลูกที่ สําคัญของไทย ทําใหปริมาณผลผลิตที่รอการเก็บเพื่อขาย เกิดความเสียหาย เชน ขาว ผักผลไม การเพาะเลี้ยงกุงและ ปลาใหมีผลผลิตลดลง ระดับราคาสูงขึ้น โดยผลกระทบ ดังกลาวถือเปนปจจัยสําคัญของตนทุนการผลิต และระดับ ราคาสินคาในทองตลาดใหปรับเพิ่มสูงขึ้น   

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527