สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนมีนาคม 2555

มีนาคม 2555

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

มีนาคม 2555

 

จำนวนโรงงาน ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนกุมภาพันธ 2555 มีจํานวน 14 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง 6 โรงงาน รองลงมาคือภาค อีสาน 5 โรงงาน สวนภาคเหนือ ใต และตะวันออก มีภาคละ 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการผลิตแบงออกเปน การผลิตและแปรรูปพืชผลทาง การเกษตร 6 โรงงาน ผลิตหมูแชแข็งและผลิตน้ําแข็ง/น้ําดื่ม 2 โรงงาน ผลิตเครื่องดื่มชนิดผงสําเร็จรูป ผลิตอาหารสําเร็จรูป ผลิตอาหารสัตว และผลิตน้ําตาลทราย มีอยางละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่ม ประกอบกิจการใหมทั้งหมด มีมูลคาเงินลงทุนรวม 3,033 ลานบาท โดย สัดสวนรอยละ 42.86 อยูในบริเวณภาคกลาง มีผลทําใหเกิดการจางงาน เพิ่มขึ้นจํานวน 445 คน สําหรับจํานวนโรงงานที่เลิกประกอบกิจการ ใน เดือนกุมภาพันธ 2555 มีจํานวน 12 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง 5 โรงงาน รองลงมาคือภาคตะวันตก 2 โรงงาน สวนภาคอีสานและ ตะวันออก มีภาคละ 2 โรงงานมูลคาเงินลงทุนรวม 356 ลานบาท โดย สัดสวนรอยละ 41.67 อยูในบริเวณภาคกลาง เกิดการเลิกจางงาน เพิ่มขึ้นจํานวน 252 คน มากที่สุดอยูในจังหวัดปทุมธานี มีจํานวน 175 คน    ของภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคม 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 9 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 1,241 ลานบาท มีการจางงานจํานวน 742 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวาโครงการไดรับอนุมัติมี จํานวนไมเปลี่ยนแปลง แตมีมูลคาเงินลงทุนรวมลดลง 15 ลานบาท และ มีการจางงานลดลง 66 คน โดยรวมเงินลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณภาค อีสาน มีมูลคารวม 783 ลานบาท (สัดสวน 63.09% ของเงินลงทุน ทั้งหมด) และมีมากสุดอยูที่จังหวัดขอนแกน ผลิตแปงมันสําปะหลัง รองลงมาคือชัยภูมิ ผลิตแปงมันสําปะหลัง และฉะเชิงเทรา ผลิตไขไก และไกรุน สวนการจางงานมากสุดอยูที่จังหวัดสงขลา มีจํานวน 188 คน (สัดสวน 25.34% ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือ ชัยภูมิ มี จํานวน 160 คน (21.56%) และลพบุรี มีจํานวน 155 คน (20.89%) ดวยจํานวนโครงการที่มีการลงทุนในเดือนมกราคม พบวาภาค อีสานเปนบริเวณที่มีเงินลงทุนมากสุด โดยเปนการผลิตและแปรรูป พืชผลทางการเกษตรทั้งหมด ซึ่งไดแก ขาว และมัน

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

มีนาคม 2555

 

จำนวนโรงงาน ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนกุมภาพันธ 2555 มีจํานวน 14 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง 6 โรงงาน รองลงมาคือภาค อีสาน 5 โรงงาน สวนภาคเหนือ ใต และตะวันออก มีภาคละ 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการผลิตแบงออกเปน การผลิตและแปรรูปพืชผลทาง การเกษตร 6 โรงงาน ผลิตหมูแชแข็งและผลิตน้ําแข็ง/น้ําดื่ม 2 โรงงาน ผลิตเครื่องดื่มชนิดผงสําเร็จรูป ผลิตอาหารสําเร็จรูป ผลิตอาหารสัตว และผลิตน้ําตาลทราย มีอยางละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่ม ประกอบกิจการใหมทั้งหมด มีมูลคาเงินลงทุนรวม 3,033 ลานบาท โดย สัดสวนรอยละ 42.86 อยูในบริเวณภาคกลาง มีผลทําใหเกิดการจางงาน เพิ่มขึ้นจํานวน 445 คน สําหรับจํานวนโรงงานที่เลิกประกอบกิจการ ใน เดือนกุมภาพันธ 2555 มีจํานวน 12 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง 5 โรงงาน รองลงมาคือภาคตะวันตก 2 โรงงาน สวนภาคอีสานและ ตะวันออก มีภาคละ 2 โรงงานมูลคาเงินลงทุนรวม 356 ลานบาท โดย สัดสวนรอยละ 41.67 อยูในบริเวณภาคกลาง เกิดการเลิกจางงาน เพิ่มขึ้นจํานวน 252 คน มากที่สุดอยูในจังหวัดปทุมธานี มีจํานวน 175 คน    ของภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคม 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 9 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 1,241 ลานบาท มีการจางงานจํานวน 742 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวาโครงการไดรับอนุมัติมี จํานวนไมเปลี่ยนแปลง แตมีมูลคาเงินลงทุนรวมลดลง 15 ลานบาท และ มีการจางงานลดลง 66 คน โดยรวมเงินลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณภาค อีสาน มีมูลคารวม 783 ลานบาท (สัดสวน 63.09% ของเงินลงทุน ทั้งหมด) และมีมากสุดอยูที่จังหวัดขอนแกน ผลิตแปงมันสําปะหลัง รองลงมาคือชัยภูมิ ผลิตแปงมันสําปะหลัง และฉะเชิงเทรา ผลิตไขไก และไกรุน สวนการจางงานมากสุดอยูที่จังหวัดสงขลา มีจํานวน 188 คน (สัดสวน 25.34% ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือ ชัยภูมิ มี จํานวน 160 คน (21.56%) และลพบุรี มีจํานวน 155 คน (20.89%) ดวยจํานวนโครงการที่มีการลงทุนในเดือนมกราคม พบวาภาค อีสานเปนบริเวณที่มีเงินลงทุนมากสุด โดยเปนการผลิตและแปรรูป พืชผลทางการเกษตรทั้งหมด ซึ่งไดแก ขาว และมัน

 

ภาพรวมภาวะการผลิต

อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ในเดือนมกราคม 2554 ปรับตัวเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับชวง เดียวกันของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 58.57 ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 2.87 อัตราการใชกําลังการผลิตปรับ เพิ่มขึ้นในกลุมสินคาที่สําคัญ ไดแก น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ (ปรับ เพิ่มขึ้นรอยละ 119.14) ผงชูรส (27.46) อาหารกุงสําเร็จรูป (18.85) น้ําตาลทรายดิบ (18.39) อาหารไกสําเร็จรูป (17.85) แปงมันสําปะหลัง (17.04) และอาหารสุกรสําเร็จรูป (15.14) ตามลําดับ สําหรับสินคาที่มีอัตราการใชกําลังการผลิตปรับลดลง ไดแก น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ (ลดลงรอยละ 55.05) กุงแชแข็ง (27.31) น้ําตาลทรายขาว (26.95) ปลาทูนากระปอง (5.44) สับปะรดกระปอง (3.41) และเนื้อไกแชแข็ง/แชเย็น (0.10) ตามลําดับ ดวยกําลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นในกลุมสินคาดังกลาว สงผลทําใหดัชนีผลผลิต (ถวงน้ําหนักมูลคาเพิ่ม) อุตสาหกรรม อยูที่ระดับ 169.19 เพิ่มขึ้นรอยละ 3.90 จากชวงเดียวกันของป กอน และจากผลผลิตโดยรวมในกลุมสินคาที่ปรับเพิ่มขึ้น สะทอนภาพความตองการของตลาดที่ปรับเพิ่มขึ้นเล็กนอย (น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ อาหารสัตว น้ําตาลทราย และแปงมัน สําปะหลัง) โดยดัชนีการสงสินคาปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 0.84 อยูที่ ระดับ 137.44 ขณะที่ดัชนีสินคาสําเร็จรูปคงคลังปรับเพิ่มขึ้น รอยละ 15.90 จากชวงเดียวกันของปกอน โดยอยูที่ระดับ 234.81 จากอัตราการใชกําลังการผลิตที่เพิ่มข้ึนรวมทั้งปริมาณ สินคาคงคลังที่มีสะสมกอนหนา สงผลใหสินคาในกลุมที่สําคัญ ปรับเพิ่มขึ้น ไดแก สับปะรดกระปอง (เพิ่มขึ้นรอยละ 253.63) น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ (147.74) น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ (133.76) เนื้อไกแชแข็งและแชเย็น (68.66) น้ําตาลทรายดิบ (44.34) อาหารกุงสําเร็จรูป (20.17) แปงมันสําปะหลัง (19.50) อาหาร ไกสําเร็จรูป (17.31) และน้ําตาลทรายขาว (12.39) จากปริมาณ สินคาคงคลังที่เพิ่มสูงขึ้น ไดสะทอนภาพวัตถุดิบที่มีเพิ่มมากขึ้น ในปจจุบัน และภาคการผลิตกลับสูภาวะปกติเชนเดิม  

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527