สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนพฤษภาคม 2555

พฤษภาคม 2555

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

พฤษภาคม 2555

 

จำนวนโรงงาน ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนเมษายน 2555 มี จํานวน 16 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง 9 โรงงาน รองลงมาคือภาค อีสาน 4 โรงงาน และภาคตะวันออก 2 โรงงาน สวนภาคใต มี 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการผลิตแบงออกเปนการผลิตและแปรรูปพืชผลทาง การเกษตร 10 โรงงาน ผลิตเนื้อสัตวแชแข็ง 2 โรงงาน ผลิตเนื้อสัตว แปรรูป ผลิตแปงกึ่งสําเร็จรูปจากธัญพืช ผลิตขนมปนสิบ และผลิต น้ําแข็ง/น้ําดื่ม มีอยางละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่มประกอบ กิจการใหมทั้งหมด มีมูลคาเงินลงทุนรวม 148 ลานบาท โดยสัดสวน รอยละ 49.08 อยูในบริเวณภาคกลาง มีผลทําใหเกิดการจางงานเพิ่มขึ้น จํานวน 172 คน โดยอยูในบริเวณภาคตะวันออกมากสุด มีจํานวน 86 คน คิดเปนรอยละ 50.00 ของการจางงานใหมทั้งหมด สําหรับจํานวน โรงงานที่เลิกประกอบกิจการในเดือนเมษายน 2555 มีจํานวน 9 โรงงาน อยูบริเวณภาคอีสาน 7 โรงงาน รองลงมาคือภาคตะวันออกและตะวันตก มีภาคละ 1 โรงงาน มูลคาเงินลงทุนรวม 19 ลานบาท โดยสัดสวนรอย ละ 54.06 อยูในบริเวณภาคอีสาน และมีการเลิกจางงานเพิ่มขึ้นจํานวน 72 คน     ภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคมมีนาคม 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 42 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 10,470 ลานบาท มีการจางงาน จํานวนรวม 3,782 คน สําหรับเดือนมีนาคม 2555 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมทั้งสิ้น 20 โครงการ เงินลงทุนรวม 6,512 ลานบาท มีการจางงานรวม 1,662 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวา โครงการไดรับอนุมัติมีจํานวนเพิ่มขึ้น 82 โครงการ มีมูลคาเงินลงทุน รวมเพิ่มขึ้น 274 ลานบาท แตมีการจางงานลดลง 28 คน  โดยรวมเงิน ลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณภาคใต มีมูลคารวม 3,938 ลานบาท (สัดสวนรอยละ 60.47 ของเงินลงทุนทั้งหมด) โดยเงินลงทุนมีมากสุดอยู จังหวัดสุราษฏรธานี (มูลคา 3,898 ลานบาท) ผลิตน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ รองลงมาคืออุบลราชธานี (มูลคา 620 ลานบาท) ผลิตแปงมันสําปะหลัง สวนการจางงานมากสุดอยูที่จังหวัดสมุทรสาคร มีจํานวน 280 คน (สัดสวนรอยละ 16.85 ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือ อุบลราชธานี มีจํานวน 266 คน (รอยละ 20.83)

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

พฤษภาคม 2555

 

จำนวนโรงงาน ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนเมษายน 2555 มี จํานวน 16 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง 9 โรงงาน รองลงมาคือภาค อีสาน 4 โรงงาน และภาคตะวันออก 2 โรงงาน สวนภาคใต มี 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการผลิตแบงออกเปนการผลิตและแปรรูปพืชผลทาง การเกษตร 10 โรงงาน ผลิตเนื้อสัตวแชแข็ง 2 โรงงาน ผลิตเนื้อสัตว แปรรูป ผลิตแปงกึ่งสําเร็จรูปจากธัญพืช ผลิตขนมปนสิบ และผลิต น้ําแข็ง/น้ําดื่ม มีอยางละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่มประกอบ กิจการใหมทั้งหมด มีมูลคาเงินลงทุนรวม 148 ลานบาท โดยสัดสวน รอยละ 49.08 อยูในบริเวณภาคกลาง มีผลทําใหเกิดการจางงานเพิ่มขึ้น จํานวน 172 คน โดยอยูในบริเวณภาคตะวันออกมากสุด มีจํานวน 86 คน คิดเปนรอยละ 50.00 ของการจางงานใหมทั้งหมด สําหรับจํานวน โรงงานที่เลิกประกอบกิจการในเดือนเมษายน 2555 มีจํานวน 9 โรงงาน อยูบริเวณภาคอีสาน 7 โรงงาน รองลงมาคือภาคตะวันออกและตะวันตก มีภาคละ 1 โรงงาน มูลคาเงินลงทุนรวม 19 ลานบาท โดยสัดสวนรอย ละ 54.06 อยูในบริเวณภาคอีสาน และมีการเลิกจางงานเพิ่มขึ้นจํานวน 72 คน     ภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคมมีนาคม 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 42 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 10,470 ลานบาท มีการจางงาน จํานวนรวม 3,782 คน สําหรับเดือนมีนาคม 2555 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมทั้งสิ้น 20 โครงการ เงินลงทุนรวม 6,512 ลานบาท มีการจางงานรวม 1,662 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวา โครงการไดรับอนุมัติมีจํานวนเพิ่มขึ้น 82 โครงการ มีมูลคาเงินลงทุน รวมเพิ่มขึ้น 274 ลานบาท แตมีการจางงานลดลง 28 คน  โดยรวมเงิน ลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณภาคใต มีมูลคารวม 3,938 ลานบาท (สัดสวนรอยละ 60.47 ของเงินลงทุนทั้งหมด) โดยเงินลงทุนมีมากสุดอยู จังหวัดสุราษฏรธานี (มูลคา 3,898 ลานบาท) ผลิตน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ รองลงมาคืออุบลราชธานี (มูลคา 620 ลานบาท) ผลิตแปงมันสําปะหลัง สวนการจางงานมากสุดอยูที่จังหวัดสมุทรสาคร มีจํานวน 280 คน (สัดสวนรอยละ 16.85 ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือ อุบลราชธานี มีจํานวน 266 คน (รอยละ 20.83)

 

ภาพรวมภาวะการผลิต

          อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ในเดือนมีนาคม 2555 ปรับตัวเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับชวง เดียวกันของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 64.16 ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 2.77 ในกลุมสินคาที่มีอัตราการใช กําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้นที่สําคัญ ไดแก อาหารไกสําเร็จรูป (ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 41.08) แปงมันสําปะหลัง (30.00) เนื้อไก แชแข็งและแชเย็น (27.95) น้ําตาลทรายดิบ (24.74) น้ํามันถั่ว เหลืองบริสุทธิ์ (17.66) ปลาซารดีนกระปอง (14.48) และอาหาร สุกรสําเร็จรูป (14.27) ตามลําดับ สําหรับสินคาที่มีอัตราการใช กําลังการผลิตปรับลดลง ไดแก ขาวโพดฝกออนกระปอง (ลดลง รอยละ 43.32) กุงแชแข็ง (31.41) เครื่องปรุงรส (30.54) น้ํา ผลไม (19.17) สับปะรดกระปอง (15.05) และน้ํามันปาลม บริสุทธิ์ (5.70) ตามลําดับ จากกําลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นในกลุม สินคาดังกลาว สงผลทําใหดัชนีผลผลิต (ถวงน้ําหนักมูลคาเพิ่ม) อุตสาหกรรมอยูที่ระดับ 188.98 เพิ่มขึ้นรอยละ 4.96 จากชวง เดียวกันของปกอน และจากผลผลิตโดยรวมในกลุมสินคาที่ปรับ เพิ่มขึ้น สะทอนภาพความตองการของตลาดที่ปรับเพิ่มขึ้นใน กลุมสินคาอาหารสัตว แปงมันสําปะหลัง เนื้อไกแชแข็งและแช เย็น น้ําตาลทราย และน้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ โดยดัชนีการสง สินคาปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 4.19 อยูที่ระดับ 165.40 ขณะที่ดัชนี สินคาสําเร็จรูปคงคลังปรบัเพิ่มขึ้นรอยละ 0.69 จากชวงเดียวกัน ของปกอน โดยอยูที่ระดับ 226.53  ดวยอัตราการใชกําลังการ ผลิตที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งปริมาณสินคาคงคลังที่มีสะสมกอนหนา สงผลใหสินคาในกลุมที่สําคัญยังคงเพิ่มขึ้น ไดแก สับปะรด กระปอง (เพิ่มขึ้นรอยละ 216.01) เนื้อไกแชแข็งและแชเย็น (101.23) น้ําผลไม (99.10) น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ (70.71) อาหาร ปลาสําเร็จรูป (59.59) น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ (55.80) แปงมัน สําปะหลัง (22.18) น้ําตาลทรายดิบ (20.56) และนมพรอมดื่ม (18.23) จากราคาวัตถุดิบที่ปรับเพิ่มสูงขึ้น ยังคงสงผลตอความ ตองการที่มีในตลาด รวมทั้งสินคาคงคลังที่ปรับเพิ่มขึ้นเล็กนอย

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527