สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนตุลาคม 2555

ตุลาคม 2555

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  ตุลาคม 2555


จำนวนโรงงาน ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนกันยายน 2555 มี จํานวน 3 โรงงาน อยูบริเวณภาคใต 2 โรงงาน และภาคกลาง 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการผลิตแบงออกเปนการผลิตและแปรรูปพืชผลทาง การเกษตร ผลิตอาหารและเครื่องดื่มจากผักพืชและผลไม และผลิต เนื้อสัตวแชแข็ง มีอยางละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่มประกอบ กิจการใหมทั้งหมด มีมูลคาเงินลงทุนรวม 32 ลานบาท โดยสัดสวนรอย ละ 52.98 อยูในบริเวณภาคใต และมีผลทําใหเกิดการจางงานเพิ่มขึ้น จํานวน 47 คน โดยอยูในบริเวณภาคใตมากที่สุด มีจํานวน 27 คน คิด เปนรอยละ 57.45 ของการจางงานใหมทั้งหมด สําหรับจํานวนโรงงานที่ เลิกประกอบกิจการในเดือนกันยายน 2555 มีจํานวน 4 โรงงาน อยู บริเวณภาคอีสาน 2 โรงงาน ภาคกลาง และภาคเหนือ มีภาคละ 1 โรงงาน มูลคาเงินลงทุนรวม 9 ลานบาท โดยสัดสวนรอยละ 74.00 อยู ในบริเวณภาคเหนือ ไดแก เชียงราย (มูลคา 7 ลานบาท) โดยมีการเลิก จางงานเพิ่มขึ้นจํานวน 31 คน โดยอยูในบริเวณภาคเหนือมากที่สุด มี จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 74.19 ภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคมสิงหาคม 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 115 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 29,760 ลานบาท มีการจางงาน จํานวนรวม 29,114 คน สําหรับเดือนสิงหาคม 2555 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมทั้งสิ้น 17 โครงการ เงินลงทุนรวม 4,021 ลานบาท มีการจางงานรวม 7,877 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวา โครงการไดรับอนุมัติปรับเพิ่มขึ้น 10 โครงการ มีมูลคาเงินลงทุนรวม ปรับเพิ่มขึ้น 3,901 ลานบาท และมีการจางงานเพ่ิมขึ้น 7,676 คน  โดยรวมเงินลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณภาคกลาง มีมูลคารวม 2,383 ลานบาท (สัดสวนรอยละ 59.26 ของเงินลงทุนทั้งหมด) โดยเงินลงทุนมี มากที่สุดอยูที่สระบุรี (มูลคา 1,661 ลานบาท) ผลิตน้ําผัก/ผลไม อาหาร สําเร็จรูป และไสกรอก รองลงมาคือปราจีนบุรี (มูลคา 1,391 ลานบาท) ผลิตน้ําผัก/ผลไม และปลาเสน สวนการจางงานมากสุดอยูที่สระบุรี มี จํานวน 4,919 คน (สัดสวนรอยละ 62.45 ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือกรุงเทพฯ มีจํานวน 1,288 คน (รอยละ 16.35) 

 

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  ตุลาคม 2555


จำนวนโรงงาน ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนกันยายน 2555 มี จํานวน 3 โรงงาน อยูบริเวณภาคใต 2 โรงงาน และภาคกลาง 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการผลิตแบงออกเปนการผลิตและแปรรูปพืชผลทาง การเกษตร ผลิตอาหารและเครื่องดื่มจากผักพืชและผลไม และผลิต เนื้อสัตวแชแข็ง มีอยางละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่มประกอบ กิจการใหมทั้งหมด มีมูลคาเงินลงทุนรวม 32 ลานบาท โดยสัดสวนรอย ละ 52.98 อยูในบริเวณภาคใต และมีผลทําใหเกิดการจางงานเพิ่มขึ้น จํานวน 47 คน โดยอยูในบริเวณภาคใตมากที่สุด มีจํานวน 27 คน คิด เปนรอยละ 57.45 ของการจางงานใหมทั้งหมด สําหรับจํานวนโรงงานที่ เลิกประกอบกิจการในเดือนกันยายน 2555 มีจํานวน 4 โรงงาน อยู บริเวณภาคอีสาน 2 โรงงาน ภาคกลาง และภาคเหนือ มีภาคละ 1 โรงงาน มูลคาเงินลงทุนรวม 9 ลานบาท โดยสัดสวนรอยละ 74.00 อยู ในบริเวณภาคเหนือ ไดแก เชียงราย (มูลคา 7 ลานบาท) โดยมีการเลิก จางงานเพิ่มขึ้นจํานวน 31 คน โดยอยูในบริเวณภาคเหนือมากที่สุด มี จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 74.19 ภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคมสิงหาคม 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 115 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 29,760 ลานบาท มีการจางงาน จํานวนรวม 29,114 คน สําหรับเดือนสิงหาคม 2555 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมทั้งสิ้น 17 โครงการ เงินลงทุนรวม 4,021 ลานบาท มีการจางงานรวม 7,877 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวา โครงการไดรับอนุมัติปรับเพิ่มขึ้น 10 โครงการ มีมูลคาเงินลงทุนรวม ปรับเพิ่มขึ้น 3,901 ลานบาท และมีการจางงานเพ่ิมขึ้น 7,676 คน  โดยรวมเงินลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณภาคกลาง มีมูลคารวม 2,383 ลานบาท (สัดสวนรอยละ 59.26 ของเงินลงทุนทั้งหมด) โดยเงินลงทุนมี มากที่สุดอยูที่สระบุรี (มูลคา 1,661 ลานบาท) ผลิตน้ําผัก/ผลไม อาหาร สําเร็จรูป และไสกรอก รองลงมาคือปราจีนบุรี (มูลคา 1,391 ลานบาท) ผลิตน้ําผัก/ผลไม และปลาเสน สวนการจางงานมากสุดอยูที่สระบุรี มี จํานวน 4,919 คน (สัดสวนรอยละ 62.45 ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือกรุงเทพฯ มีจํานวน 1,288 คน (รอยละ 16.35) 

 

ภาพรวมภาวะการผลิต

อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ในเดือนสิงหาคม 2555 ปรับตัวลดลง เมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 56.78 ปรับลดลงรอยละ 2.72 ในกลุมสินคาที่มีอัตราการใชกําลังการ ผลิตปรับลดลงที่สําคัญ ไดแก สับปะรดกระปอง (ปรับลดลงรอย ละ 82.66) น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ (49.49) น้ําผลไม (47.02) แปงมันสําปะหลัง (29.70) กุงแชแข็ง (24.19) ปลาหมึกแชแข็ง (22.98) อาหารปลาสําเร็จรูป (18.53) อาหารกุงสําเร็จรูป (17.17) นมพรอมดื่ม (13.63) น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ (8.09) ซอส ถั่วเหลือง/เตาเจี้ยว/ซีอิ้ว (7.50) ผงชูรส (4.03) และปลาแชแข็ง (2.05) ตามลําดับ สําหรับสินคาที่มีอัตราการใชกําลังการผลิต ปรับเพิ่มขึ้น ไดแก น้ําตาลทรายขาว (ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 83.45) ขาวโพดฝกออนกระปอง (35.30) ปลาทูนากระปอง (18.55) อาหารไกสําเร็จรูป (13.70) อาหารสุกรสําเร็จรูป (11.90) ปลาซารดีนกระปอง (11.88) น้ําปลา (7.54) และเนื้อไก แชแข็งและแชเย็น (1.51) ตามลําดับ และดวยกําลังการผลิตที่ ปรับลดลงในกลุมสินคาดังกลาว สงผลทําใหดัชนีผลผลิต (ถวง น้ําหนักมูลคาเพิ่ม) อุตสาหกรรมอยูที่ระดับ 145.71 โดยปรับ เพิ่มขึ้นเล็กนอย อยูที่รอยละ 1.13 จากชวงเดียวกันของปกอน ผลผลิตโดยรวมในกลุมสินคาสําคัญที่ปรับลดลง สะทอนภาพ ความตองการในตลาดที่ลดนอยลง จากภาวะเศรษฐกิจทั้งใน และตางประเทศ โดยเฉพาะในกลุมสินคากุงแชแข็ง สับปะรด กระปอง อาหารสัตวน้ําสําเร็จรูป และน้ําตาลทรายดิบ โดยดัชนี การสงสินคาปรับลดลงรอยละ 6.50 อยูที่ระดับ 148.21 ขณะที่ ดัชนีสินคาสําเร็จรูปคงคลังปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 2.83 จากชวง เดียวกันของปกอน โดยอยูที่ระดับ 221.09 สินคาคงคลังที่มีการ สะสมเพิ่มขึ้นจากคําสั่งซื้อของลูกคาที่สําคัญมีลดนอยลง ไดแก น้ําผลไม (เพิ่มขึ้นรอยละ 147.14) สับปะรดกระปอง (54.63) เนื้อไกแชแข็งและแชเย็น (37.65) น้ําตาลทรายดิบ (28.39) อาหารไกสําเร็จรูป (26.75) และปลาแชแข็ง (14.54) 

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527