สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนมกราคม 2556

มกราคม 2556

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  มกราคม 2556


ภาวะการลงทุน

          ภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคมพฤศจิกายน 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปน จํานวนทั้งสิ้น 149 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 43,503 ลานบาท มีการจางงานจํานวนรวม 36,843 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอนจะพบวาจํานวนโครงการปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 47.52 เงิน ลงทุนปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 31.55 และจางงานปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 99.69 เมื่อพิจารณารายเดือนจะพบวาในเดือนพฤศจิกายน 2555 มี โครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมจํานวน 12 โครงการ เมื่อ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอนมีโครงการปรับเพิ่มขึ้น 1 โครงการ มีเงินลงทุนมูลคา 2,217 ลานบาท ปรับลดลง 1,330 ลานบาท จาก ชวงเดียวกันของปกอน ซึ่งกลุมสินคาที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ไดแก ผลิตภัณฑประกอบอาหาร (เสนพาสตา) มีมูลคาสูงถึง 923 ลาน บาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 41.63 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมา คือผลิตภัณฑอาหารพรอมรับประทาน (บรรจุภาชนะผนึก) มีมูลคา 525 ลานบาท มีสัดสวนรอยละ 23.68 และผลิตภัณฑเครื่องปรุงรส มีมูลคา 304 ลานบาท มีสัดสวนรอยละ 13.71 ในดานปริมาณการ จางงานพบวากลุมสินคาผลิตภัณฑสัตวน้ําแชแข็งมีการจางงานสูง ถึง 826 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 51.69 เปนการเพิ่มขึ้นในเขต พื้นที่จังหวัดสุราษฎรธานี รองลงมาคือผลิตภัณฑพืชผักและผลไม แชแข็งที่มีการจางงาน 213 คน มีสัดสวนรอยละ 13.33 เพิ่มขึ้นใน พื้นที่จังหวัดเชียงใหม และผลิตภัณฑขนมปงและเบเกอรี่มีการจาง งาน 107 คน มีสัดสวนรอยละ 6.70 จากมูลคาของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 56 ปริมาณการ ผลิตสินคาอุปโภคในอุตฯ อาหารปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 4 หมื่นตัน โดยแบงออกเปนผลิตภัณฑประกอบอาหาร (เสนพาสตา) จะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 32,400 ตัน และผลิตภัณฑอาหารพรอม รับประทาน (บรรจุภาชนะผนึก) กําลังการผลิตเพิ่มขึ้น 66,000 ตัน สะทอนภาพกลุมผูที่ตองการความรวดเร็วในการรับประทาน ขณะที่ ผลิตภัณฑเครื่องปรุงรสจะมีกําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 10,830 ตัน โดยเฉพาะในกลุมรานอาหารและแมบานที่ตองการทําอาหาร

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  มกราคม 2556


ภาวะการลงทุน

          ภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคมพฤศจิกายน 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปน จํานวนทั้งสิ้น 149 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 43,503 ลานบาท มีการจางงานจํานวนรวม 36,843 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอนจะพบวาจํานวนโครงการปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 47.52 เงิน ลงทุนปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 31.55 และจางงานปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 99.69 เมื่อพิจารณารายเดือนจะพบวาในเดือนพฤศจิกายน 2555 มี โครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมจํานวน 12 โครงการ เมื่อ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอนมีโครงการปรับเพิ่มขึ้น 1 โครงการ มีเงินลงทุนมูลคา 2,217 ลานบาท ปรับลดลง 1,330 ลานบาท จาก ชวงเดียวกันของปกอน ซึ่งกลุมสินคาที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ไดแก ผลิตภัณฑประกอบอาหาร (เสนพาสตา) มีมูลคาสูงถึง 923 ลาน บาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 41.63 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมา คือผลิตภัณฑอาหารพรอมรับประทาน (บรรจุภาชนะผนึก) มีมูลคา 525 ลานบาท มีสัดสวนรอยละ 23.68 และผลิตภัณฑเครื่องปรุงรส มีมูลคา 304 ลานบาท มีสัดสวนรอยละ 13.71 ในดานปริมาณการ จางงานพบวากลุมสินคาผลิตภัณฑสัตวน้ําแชแข็งมีการจางงานสูง ถึง 826 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 51.69 เปนการเพิ่มขึ้นในเขต พื้นที่จังหวัดสุราษฎรธานี รองลงมาคือผลิตภัณฑพืชผักและผลไม แชแข็งที่มีการจางงาน 213 คน มีสัดสวนรอยละ 13.33 เพิ่มขึ้นใน พื้นที่จังหวัดเชียงใหม และผลิตภัณฑขนมปงและเบเกอรี่มีการจาง งาน 107 คน มีสัดสวนรอยละ 6.70 จากมูลคาของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 56 ปริมาณการ ผลิตสินคาอุปโภคในอุตฯ อาหารปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 4 หมื่นตัน โดยแบงออกเปนผลิตภัณฑประกอบอาหาร (เสนพาสตา) จะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 32,400 ตัน และผลิตภัณฑอาหารพรอม รับประทาน (บรรจุภาชนะผนึก) กําลังการผลิตเพิ่มขึ้น 66,000 ตัน สะทอนภาพกลุมผูที่ตองการความรวดเร็วในการรับประทาน ขณะที่ ผลิตภัณฑเครื่องปรุงรสจะมีกําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 10,830 ตัน โดยเฉพาะในกลุมรานอาหารและแมบานที่ตองการทําอาหาร

 

อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ในเดือนพฤศจิกายน 2555 ปรับตัวเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับชวง เดียวกันของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 60.34 ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 11.01 ในกลุมสินคาที่มีอัตราการใช กําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้นที่สําคัญ ไดแก ซอสถั่วเหลือง, เตาเจี้ยว, ซีอิ้ว (ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 75.67) นมพรอมดื่ม (66.39) น้ําตาลทรายขาว (46.36) ผงชูรส (34.82) ขาวโพดฝก ออนกระปอง (32.45) ปลาทูนากระปอง (23.73) ปลาซารดีน กระปอง (22.32) น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ (16.34) แปงมัน สําปะหลัง (11.23) เนื้อไกแชแข็งและแชเย็น (8.43) และ ปลาหมึกแชแข็ง (6.36) ตามลําดับ สําหรับสินคาที่มีอัตราการ ใชกําลังการผลิตปรับลดลง ไดแก น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ (ปรับ ลดลงรอยละ 63.65) อาหารกุงสําเร็จรูป (29.82) น้ําตาลทราย ดิบ (23.32) อาหารปลาสําเร็จรูป (20.97) สับปะรดกระปอง (18.72) น้ําผลไม (13.57) ปลาแชแข็ง (9.67) อาหารไก สําเร็จรูป (4.10) กุงแชแข็ง (2.08) และอาหารสุกรสําเร็จรูป (0.55) ตามลําดับ จากกําลังการผลิตที่ปรับเพิ่มขึ้นในกลุมสินคา ดังกลาว สงผลทําใหดัชนีผลผลิต (ถวงน้ําหนักมูลคาเพิ่ม) อุตสาหกรรมอยูที่ระดับ 167.84 โดยปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 17.86 จากชวงเดียวกันของปกอน ผลผลิตโดยรวมในกลุมสินคาสําคัญ ที่ปรบัเพิ่มขึ้นสะทอนภาพความตองการในตลาดที่มีเพิ่มมากขึ้น ตอเนื่องที่ในชวงตนป โดยเฉพาะในกลุมสินคาเครื่องปรุงรส นม พรอมดื่ม อาหารกระปอง (ปลา/ผลไม) น้ํามันพืช แปงมัน สําปะหลัง และเนื้อไกแชแข็ง/แชเย็น โดยดัชนีการสงสินคาปรับ เพิ่มขึ้นรอยละ 2.77 อยูที่ระดับ 149.64 ขณะที่ดัชนีสินคา สําเร็จรูปคงคลังปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 14.82 จากชวงเดียวกันของ ปกอน โดยอยูระดับ 237.67 สินคาคงคลังที่มีการสะสมเพิ่มขึ้น จากชวงกอนหนา ไดแก แปงมันสําปะหลัง (เพิ่มขึ้นรอยละ 197.05) น้ําผลไม (70.19) อาหารไกสําเร็จรูป (31.80) น้ําตาล ทรายดิบ (18.27) กุงแชแข็ง (15.00) และทูนากระปอง (13.48)

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527