สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนเมษายน 2556

เมษายน 2556

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  เมษายน 2556

 

Invesment

          ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนกุมภาพันธ 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 9 โครงการ ดวย เงินลงทุนมีมูลคารวม 1,381 ลานบาท และการจางงาน จํานวน 1,490 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน จะพบวาจํานวนโครงการไดปรับลดลงรอยละ 44.44 มูลคาเงินลงทุนปรับลดลงรอยละ 107.66 แตการจาง งานปรับเพิ่มข้ึนรอยละ 15.09 เมื่อพิจารณาเปนราย เขตจะพบวาในเดือนกุมภาพันธ 2556 เขตที่ 1 และ 2 ปรับลดลงทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน ขณะที่เขตที่ 3 โครงการและเงินลงทุนปรับลดลงเชนกัน แตการจางงานปรบัเพิ่มขึ้นจํานวน 463 คน โดยเพิ่มขึ้น ในบริเวณภาคใตถึง 615 คน (สัดสวนรอยละ 41.28 ของการจางงานทั้งหมด) โดยกลุมสินคาที่มีเงินลงทุน มากที่สุด ไดแก ผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง มีมูลคาอยู ที่ 604 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 43.74 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือผลิตภัณฑเนื้อสุกร แชแข็ง มีมูลคา 256 ลานบาท มีสัดสวนรอยละ 18.54 และผลิตภัณฑจากเนื้อปลาบด มีมูลคา 190 ลานบาท มี สัดสวนรอยละ 13.76 จากมูลคาของเงินลงทุนในภาค การผลิตทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวงไตรมาสที่ 3 ของป 2556 จะมีกําลังการผลิตสินคาเพื่อการบริโภค ในอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้นประมาณ 1.04 แสนตัน โดยแบงออกเปนผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง จะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 90,000 ตัน (ทั้งระบบกําลัง การผลิตอยูท่ี 2.39 ลานตันตอป) ปรับเพิ่มตามขนาด ตลาดที่ขยายใหญมากขึ้น ผลิตภัณฑเนื้อสุกรแชแข็ง กําลังการผลิตจะเพิ่มขึ้น 7,328 ตัน (ทั้งระบบ 1.07 ลานตันตอป) ขณะที่ผลิตภัณฑจากเนื้อปลาบด จะมี กําลังการผลิตเพิ่มขึ้น 7,500 ตัน (ทั้งระบบ 1.58 แสน ตันตอป) สวนปริมาณการจางงานพบวากลุมผลิตภัณฑ เนื้อสุกรแชแข็ง มีการจางงาน 340 คน คิดเปนสัดสวน รอยละ 22.82 โดยเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดกระบี่ รองลงมาคือผลิตภัณฑสัตวน้ําแชแข็งมีการจางงาน 275 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 18.46 โดยเพิ่มขึ้นในพื้นที่ จังหวัดสงขลา

 

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  เมษายน 2556

 

Invesment

          ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนกุมภาพันธ 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 9 โครงการ ดวย เงินลงทุนมีมูลคารวม 1,381 ลานบาท และการจางงาน จํานวน 1,490 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน จะพบวาจํานวนโครงการไดปรับลดลงรอยละ 44.44 มูลคาเงินลงทุนปรับลดลงรอยละ 107.66 แตการจาง งานปรับเพิ่มข้ึนรอยละ 15.09 เมื่อพิจารณาเปนราย เขตจะพบวาในเดือนกุมภาพันธ 2556 เขตที่ 1 และ 2 ปรับลดลงทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน ขณะที่เขตที่ 3 โครงการและเงินลงทุนปรับลดลงเชนกัน แตการจางงานปรบัเพิ่มขึ้นจํานวน 463 คน โดยเพิ่มขึ้น ในบริเวณภาคใตถึง 615 คน (สัดสวนรอยละ 41.28 ของการจางงานทั้งหมด) โดยกลุมสินคาที่มีเงินลงทุน มากที่สุด ไดแก ผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง มีมูลคาอยู ที่ 604 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 43.74 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือผลิตภัณฑเนื้อสุกร แชแข็ง มีมูลคา 256 ลานบาท มีสัดสวนรอยละ 18.54 และผลิตภัณฑจากเนื้อปลาบด มีมูลคา 190 ลานบาท มี สัดสวนรอยละ 13.76 จากมูลคาของเงินลงทุนในภาค การผลิตทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวงไตรมาสที่ 3 ของป 2556 จะมีกําลังการผลิตสินคาเพื่อการบริโภค ในอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้นประมาณ 1.04 แสนตัน โดยแบงออกเปนผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง จะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 90,000 ตัน (ทั้งระบบกําลัง การผลิตอยูท่ี 2.39 ลานตันตอป) ปรับเพิ่มตามขนาด ตลาดที่ขยายใหญมากขึ้น ผลิตภัณฑเนื้อสุกรแชแข็ง กําลังการผลิตจะเพิ่มขึ้น 7,328 ตัน (ทั้งระบบ 1.07 ลานตันตอป) ขณะที่ผลิตภัณฑจากเนื้อปลาบด จะมี กําลังการผลิตเพิ่มขึ้น 7,500 ตัน (ทั้งระบบ 1.58 แสน ตันตอป) สวนปริมาณการจางงานพบวากลุมผลิตภัณฑ เนื้อสุกรแชแข็ง มีการจางงาน 340 คน คิดเปนสัดสวน รอยละ 22.82 โดยเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดกระบี่ รองลงมาคือผลิตภัณฑสัตวน้ําแชแข็งมีการจางงาน 275 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 18.46 โดยเพิ่มขึ้นในพื้นที่ จังหวัดสงขลา

 

Industry Overview
          ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มในเดือนกุมภาพันธ 2556 ปรับตัว ลดลง เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตรา การใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 52.33 ปรับลดลงรอย ละ 11.83 อัตราขยายตัวของการใชกําลังการผลิตใน กลุมผลิตภัณฑที่สําคัญปรับตัวลดลงหรือติดลบ มาจาก สาเหตุหลักไดแก ดานสภาพภูมิอากาศที่ไมเอื้ออํานวย ตอพื้นที่เพาะปลูก ทั้งระดับความรอนที่เพิ่มสูงขึ้นและ ปริมาณน้ําเพื่อการเพาะปลูกไมเพียงพอ ทําใหผลผลิต เกิดความเสียหายจากการขาดน้ําและโรคที่เกิดขึ้น ทํา ใหผลผลิตที่เก็บเกี่ยวไดลดลงประมาณ 20-50% ระดับราคาจึงเพิ่มสูงขึ้น สวนดานการคาความตองการ บริโภคในตลาดไดปรับลดลง ผูนําเขาตางประเทศชะลอ คําสั่งซื้อโดยเฉพาะในกลุมสินคาที่สําคัญ (เนื้อไก, กุง ขาวและน้ําตาล) ในขณะที่คาเงินบาทของไทยมีแนวโนม วาระยะสั้นจะลดระดับลงมาอยูที่ระดับ 28.50-28.80 บาทตอหนึ่งดอลลาร เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่ปรับตัว ดีขึ้นของสหรัฐอเมริกา ซึ่งปจจัยขางตนที่กลาวมาได สงผลทําใหกลุมผลิตภัณฑ คือ อาหารสัตวตางๆ และ พรีมิกซ (อาหารกุงสําเร็จรูป -68.25, ไก -13.14, สุกร -10.63), ผลิตภัณฑปลาและกุง (กุงแชแข็ง -36.70, ปลาแชแข็ง -18.81), ผลไมและผักกระปอง (น้ําผลไม -63.36, สับปะรดกระปอง -18.77) และเนื้อไกแช แข็ง/แชเย็น (เนื้อไกแชแข็ง -9.26) มีอัตราการ ขยายตัวสําหรับการใชกําลังการผลิตในเดือนกุมภาพันธ 2556 ปรับตัวลดลง ยกเวนในกลุมผลิตภัณฑที่ไดจาก นม (นมพรอมดื่ม +68.08), เครื่องปรุงรส (ซอส น้ําปลาและเครื่องปรุงรส +34.33) และผลิตภัณฑปลา/ ทูนากระปอง (ทูนากระปอง +12.62) ที่ภาคธุรกิจ ยังคงมีกําลังการผลิตปรับเพิ่มสูงขึ้น ไดสะทอนภาพ คําสั่งซื้อที่ภาคธุรกิจไดรับในระยะสั้นและยังคงเปนบวก อยู หากแตวาการเพิ่มสูงขึ้นของระดับราคาวัตถุดิบใน ปจจุบันจะยังคงเปนภาระที่ภาคธุรกิจตองแบกรับไวและ ยังไมมีแนวทางในการจัดหาวัตถุดิบจากแหลงอื่นๆ ที่มี ระดับราคาที่จะสามารถลดภาระตนทุนในภาคการผลิต ของภาคธุรกิจใหลดลงได

 

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527