สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนพฤษภาคม 2556

พฤษภาคม 2556

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  พฤษภาคม  2556

 

Invesment

          ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนมีนาคม 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 14 โครงการ ดวยเงินลงทุนมีมูลคารวม 6,529 ลานบาท และการจาง งานจํานวน 2,657 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอนจะพบวาจํานวนโครงการไดปรับลดลงรอยละ 30.00 มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 0.26 และ การจางงานปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 59.87 เมื่อพิจารณา เปนรายเขตจะพบวาในเดือนมีนาคม 2556 เขตที่ 3 ปรับลดลงทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน และเขตที่ 1 ปรับลดลงจํานวนโครงการและการจางงาน ขณะที่เขตที่ 2 จํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจาง งานไดปรับเพิ่มขึ้น โดยเงินลงทุนและการจางงานได ปรับเพิ่มขึ้นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สัดสวนรอยละ 48.48 และ 65.56 ตามลําดับ โดยกลุมสินคาที่มีเงิน ลงทุนมากที่สุด ไดแก ผลิตภัณฑเบเกอรี่และขนมปง กรอบ มีมูลคาอยูที่ 2,126 ลานบาท คิดเปนสัดสวน รอยละ 32.56 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือ ผลิตภัณฑนม มีมูลคา 1,294 ลานบาท สัดสวนรอยละ 19.82 และผลิตภัณฑน้ําผัก/ผลไม มีมูลคา 1,212 ลานบาท สัดสวนรอยละ 18.56 จากมูลคาของเงิน ลงทุนในภาคการผลิตทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําให ในชวงไตรมาสที่ 3 ของป 2556 จะมีกําลังการผลิต สินคาเพื่อการบริโภคในอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้น ประมาณ 5 แสนตัน โดยแบงออกเปนผลิตภัณฑเบเกอรี่ และขนมปงกรอบ จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 24,640 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิตอยูที่ 1.2 แสนตัน ตอป) ตามมูลคาตลาดที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น ผลิตภัณฑนม กําลังการผลิตจะเพิ่มขึ้น 373,232 ตัน (ทั้งระบบ 1 ลานตันตอป) ขณะที่ผลิตภัณฑน้ําผัก/ผลไม จะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้น 96,000 ตัน (ทั้งระบบ 2.2 แสนตัน ตอป) สวนการจางงานพบวากลุมผลิตภัณฑสําเร็จรูป จากเนื้อไกมีการจางงาน 668 คน คิดเปนสัดสวนรอย ละ 25.14 รองลงมาคือผลิตภัณฑนมมีการจางงาน 552 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 20.78 โดยทั้งสองผลิตภัณฑ ปรับเพิ่มขึ้นในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  พฤษภาคม  2556

 

Invesment

          ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนมีนาคม 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 14 โครงการ ดวยเงินลงทุนมีมูลคารวม 6,529 ลานบาท และการจาง งานจํานวน 2,657 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอนจะพบวาจํานวนโครงการไดปรับลดลงรอยละ 30.00 มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 0.26 และ การจางงานปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 59.87 เมื่อพิจารณา เปนรายเขตจะพบวาในเดือนมีนาคม 2556 เขตที่ 3 ปรับลดลงทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน และเขตที่ 1 ปรับลดลงจํานวนโครงการและการจางงาน ขณะที่เขตที่ 2 จํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจาง งานไดปรับเพิ่มขึ้น โดยเงินลงทุนและการจางงานได ปรับเพิ่มขึ้นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สัดสวนรอยละ 48.48 และ 65.56 ตามลําดับ โดยกลุมสินคาที่มีเงิน ลงทุนมากที่สุด ไดแก ผลิตภัณฑเบเกอรี่และขนมปง กรอบ มีมูลคาอยูที่ 2,126 ลานบาท คิดเปนสัดสวน รอยละ 32.56 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือ ผลิตภัณฑนม มีมูลคา 1,294 ลานบาท สัดสวนรอยละ 19.82 และผลิตภัณฑน้ําผัก/ผลไม มีมูลคา 1,212 ลานบาท สัดสวนรอยละ 18.56 จากมูลคาของเงิน ลงทุนในภาคการผลิตทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําให ในชวงไตรมาสที่ 3 ของป 2556 จะมีกําลังการผลิต สินคาเพื่อการบริโภคในอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้น ประมาณ 5 แสนตัน โดยแบงออกเปนผลิตภัณฑเบเกอรี่ และขนมปงกรอบ จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 24,640 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิตอยูที่ 1.2 แสนตัน ตอป) ตามมูลคาตลาดที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น ผลิตภัณฑนม กําลังการผลิตจะเพิ่มขึ้น 373,232 ตัน (ทั้งระบบ 1 ลานตันตอป) ขณะที่ผลิตภัณฑน้ําผัก/ผลไม จะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้น 96,000 ตัน (ทั้งระบบ 2.2 แสนตัน ตอป) สวนการจางงานพบวากลุมผลิตภัณฑสําเร็จรูป จากเนื้อไกมีการจางงาน 668 คน คิดเปนสัดสวนรอย ละ 25.14 รองลงมาคือผลิตภัณฑนมมีการจางงาน 552 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 20.78 โดยทั้งสองผลิตภัณฑ ปรับเพิ่มขึ้นในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

 

Industry Overview
          ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มในเดือนมีนาคม 2556 ปรับตัว ลดลง เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตรา การใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 61.71 ปรับลดลงรอย ละ 4.03 อัตราขยายตัวของการใชกําลังการผลิตในกลุม ผลิตภัณฑที่สําคัญปรับตัวลดลง มีสาเหตุจากปจจัยหลัก คือสภาพอากาศไมเอื้ออํานวย สงผลกระทบทั้งผลผลิต ทางการเกษตรและปศุสัตว ทั้งความเสียหายตอผลผลิต และตอการเจริญเติบโต ซึ่งปจจุบันผลผลิตที่เก็บเกี่ยว ไดปรับลดลงเฉลี่ย 40% และกลุมปศุสัตวมีวัตถุดิบเขา สูตลาดลดลงเฉล่ีย 25% ขณะที่กลุมผูเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ตางไดรับผลกระทบจากความรอนจัดของสภาพอากาศ จนถึงขั้นขาดแคลนและตองนําเขาจากประเทศใกลเคียง สวนภาคการคาความตองการบริโภคในตลาดมีแนวโนม ชะลอตัวลงจากภาวะเศรษฐกิจในภูมิภาคที่สําคัญ ไดแก กลุมสหภาพยุโรปที่ยังคงไมมีสัญญาณการฟนตัวที่แน ชัดและอัตราการวางงานที่ปรับเพิ่มขึ้น ดานสหรัฐฯ การ อัดเงินเขาสูระบบยังไมสามารถเพิ่มตัวเลขการบริโภค ขึ้นไดมากนัก อีกทั้งญี่ปุนที่มีการขาดดุลการคายาวนาน 8 เดือนติดตอกัน ลวนเปนปจจัยที่สงผลทําใหผูนําเขา ตางประเทศตองชะลอคําสั่งซื้อ โดยเฉพาะในกลุมสินคา ที่สําคัญที่มีอัตราการขยายตัวสําหรับการใชกําลังการ ผลิตในเดือนมีนาคม 2556 ปรับตัวลดลง ไดแก กุงขาว , แปงมันสําปะหลัง, ผลไม/ผักกระปองและเนื้อไก จาก ปจจัยขางตนไดสงผลทําใหกลุมผลิตภัณฑ คือ อาหารกุง สําเร็จรูป -75.78, กุงแชแข็ง -24.48, ปลาหมึก -9.12, แปงมันสําปะหลัง -19.91, น้ําผลไม -54.13, สับปะรด กระปอง -1.85 และเนื้อไกแชแข็ง -11.87 ยกเวน ใน กลุมผลิตภัณฑขาวโพดฝกออนกระปอง +78.02, นม พรอมดื่ม +42.73,  ปลาทูนากระปอง +12.62 และ น้ําปลา +15.93 ที่ภาคธุรกิจยังมีกําลังการผลิตปรับเพิ่ม สูงขึ้น สะทอนภาพความตองการบริโภคในตลาดที่มี หากแตภาคธุรกิจยังคงตองรับภาระตนทุนดานวัตถุดิบที่ เพิ่มสูงขึ้นในปจจุบนัและอาจตองปรับราคาสินคาเพื่อให สอดรับกับตนทุนการผลิตที่แทจริงและเพื่อใหสามารถ อยูรอดได

 

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527