สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนกรกฎาคม 2556

กรกฎาคม 2556

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  กรกฎาคม 2556

 

 ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่ม

         ในเดือนพฤษภาคม 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวน ทั้งสิ้น 13 โครงการ ดวยเงินลงทุนมีมูลคารวม 5,787 ลานบาท และการจาง งานจํานวน 5,270 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอน พบวาจํานวนโครงการไดปรับลดลงรอยละ 7.14 มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 18.59 และการจาง งานปรับลดลงรอยละ 20.78 เมื่อพิจารณาเปนรายเขต จะพบวาในเดือนพฤษภาคม 2556 เขตที่ 2 ปรับลดลง ทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน ขณะที่ใน เขตที่ 3 จํานวนโครงการและการจางงานไดปรับลดลง ยกเวนเงินลงทุนที่ปรับเพิ่มขึ้น สวนเขตที่ 1 เพิ่มขึ้นทั้ง จํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน โดยจังหวัด สมุทรปราการเปนเขตพื้นที่มีเงินลงทุนมากที่สุด สัดสวน รอยละ 50.67 โดยกลุมสินคาที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ไดแก แปงสาลี มีมูลคาอยูที่ 2,227 ลานบาท คิดเปน สัดสวนรอยละ 38.48 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมา คือแปงมันสําปะหลัง มีมูลคา 1,550 ลานบาท สัดสวน รอยละ 26.78 และอาหารแปรรูปจากเนื้อไก มีมูลคา 758 ลานบาท สัดสวนรอยละ 13.10 จากมูลคาของเงิน ลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวงตนป 2557 จะมีกําลังการผลิตสินคาเพื่อการบริโภคในอุตสาหกรรม อาหารปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 3.27 แสนตัน โดยแบง ออกเปนกลุมแปงสาลี จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นใน ระบบ 126,000 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิตอยูที่ 1.2 ลานตันตอป) ตามความตองการบริโภคและมูลคาตลาด ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น สวนกลุมแปงมันสําปะหลัง กําลังการ ผลิตจะเพิ่มขึ้น 114,000 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 2.3 ลาน ตันตอป) ขณะที่กลุมอาหารแปรรูปจากเนื้อไกจะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้น 87,000 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 5.2 แสน ตันตอป) สําหรับการจางงานพบวากลุมผลิตไกชําแหละ มีการจางงาน 3,258 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 61.82 รองลงมาคืออาหารแปรรูปจากเนื้อไก มีการจางงาน 1,063 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 20.17 ปรับเพิ่มขึ้น ในเขตพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาและสมุทรสาคร โดยมี สัดสวนรอยละ 83.04 และ 6.36 

 

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  กรกฎาคม 2556

 

 ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่ม

         ในเดือนพฤษภาคม 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวน ทั้งสิ้น 13 โครงการ ดวยเงินลงทุนมีมูลคารวม 5,787 ลานบาท และการจาง งานจํานวน 5,270 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอน พบวาจํานวนโครงการไดปรับลดลงรอยละ 7.14 มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 18.59 และการจาง งานปรับลดลงรอยละ 20.78 เมื่อพิจารณาเปนรายเขต จะพบวาในเดือนพฤษภาคม 2556 เขตที่ 2 ปรับลดลง ทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน ขณะที่ใน เขตที่ 3 จํานวนโครงการและการจางงานไดปรับลดลง ยกเวนเงินลงทุนที่ปรับเพิ่มขึ้น สวนเขตที่ 1 เพิ่มขึ้นทั้ง จํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน โดยจังหวัด สมุทรปราการเปนเขตพื้นที่มีเงินลงทุนมากที่สุด สัดสวน รอยละ 50.67 โดยกลุมสินคาที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ไดแก แปงสาลี มีมูลคาอยูที่ 2,227 ลานบาท คิดเปน สัดสวนรอยละ 38.48 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมา คือแปงมันสําปะหลัง มีมูลคา 1,550 ลานบาท สัดสวน รอยละ 26.78 และอาหารแปรรูปจากเนื้อไก มีมูลคา 758 ลานบาท สัดสวนรอยละ 13.10 จากมูลคาของเงิน ลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวงตนป 2557 จะมีกําลังการผลิตสินคาเพื่อการบริโภคในอุตสาหกรรม อาหารปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 3.27 แสนตัน โดยแบง ออกเปนกลุมแปงสาลี จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นใน ระบบ 126,000 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิตอยูที่ 1.2 ลานตันตอป) ตามความตองการบริโภคและมูลคาตลาด ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น สวนกลุมแปงมันสําปะหลัง กําลังการ ผลิตจะเพิ่มขึ้น 114,000 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 2.3 ลาน ตันตอป) ขณะที่กลุมอาหารแปรรูปจากเนื้อไกจะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้น 87,000 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 5.2 แสน ตันตอป) สําหรับการจางงานพบวากลุมผลิตไกชําแหละ มีการจางงาน 3,258 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 61.82 รองลงมาคืออาหารแปรรูปจากเนื้อไก มีการจางงาน 1,063 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 20.17 ปรับเพิ่มขึ้น ในเขตพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาและสมุทรสาคร โดยมี สัดสวนรอยละ 83.04 และ 6.36 

 

          ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มในเดือนพฤษภาคม 2556 ปรับตัว ลดลง เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตรา การใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 53.00 ปรับลดลงรอย ละ 15.50 อัตราขยายตัวของการใชกําลังการผลิตใน กลุมผลิตภัณฑที่สําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องเปน เดือนที่ 4 ติดตอกัน สาเหตุสําคัญมาจาก 3 ปจจัยหลัก คือ 1. ตนทุนวัตถุดิบในกลุมสินคาสําคัญไดแก พืชผล การเกษตร สัตวน้ํา เนื้อสัตว ผัก/ผลไม เครื่องปรุงรส และผลิตภัณฑนม ไดปรับเพิ่มสูงขึ้นทั้งจากสภาพอากาศ ที่ไมเอื้ออํานวยและความตองการในตลาดที่มีเพิ่มมาก ขึ้น จนสงผลกระทบตอตนทุนภาคการผลิตใหเพิ่มสูงขึ้น 2. คาแรงงานภาคการผลิตที่ไดปรับเพิ่มขึ้นจากชวงกอน หนา ยังคงเปนภาระตนทุนที่ภาคธุรกิจยังคงตองแบกรับ ยิ่งในชวงที่ราคาวัตถุดิบปรับตัวสูงขึ้น หากแตภาคธุรกิจ จะตองพยายามเพิ่มประสิทธิภาพของแรงงานใหสูงขึ้น ไดเทากับอัตราคาจางที่ไดจายไป 3. ความผันผวนของ คาเงินบาท ถือเปนอุปสรรคตอผูสงออกของไทยและ สรางความยากลําบากที่จะรับคําสั่งซื้อท่ีมีตลอดชวง ระยะเวลาที่ผานมาได และยิ่งเสี่ยงตอการไดรับเงินกลับ คาสินคาที่ปรับลดลง นอกจากนี้ สภาวะทางเศรษฐกิจ และนโยบายการคลังของประเทศในกลุมลูกคาที่สําคัญ ทั้งจากยุโรป สหรัฐอเมริกาและญี่ปุน จะเปนตัวสะทอน ภาพที่ชัดเจนสําหรับการสงออกของไทยในปจจุบัน และ เมื่อพิจารณาในกลุมสินคาที่มีอัตราการใชกําลังการผลิต ในเดือนพฤษภาคม 2556 ลดลง ไดแก ผลิตภัณฑปลา และกุง (กุงแชแข็ง -63.17), ผลไม/ผักกระปอง (น้ํา ผลไม -45.38, สับปะรดกระปอง -39.40), อาหาร สัตว (กุง -75.59, ไก -20.17), แปงมัน/กลูโคส (แปงมันสําปะหลัง -25.61) และเนื้อไกแชแข็ง/แชเย็น -17.29 ยกเวน ในกลุมน้ําตาลทรายขาว +39.90, ทูนา กระปอง +17.57, และเครื่องปรุงรส (ซอสถั่วเหลือง, เตาเจี้ยว,ซีอิ้ว +5.29) ที่ยังคงมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น แตความเสี่ยงที่ภาคธุรกิจยังตองเผชิญอยู ทั้งระดับราคา วัตถุดิบ คาจางแรงงานและความผันผวนของคาเงินบาท จะยิ่งทําใหตองมีการปรับแผนการผลิตใหเหมาะสม  

 

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527