สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนพฤศจิกายน 2556

พฤศจิกายน 2556

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  พฤศจิกายน 2556

 

ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนกันยายน 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 13 โครงการ ดวยเงินลงทุนมีมลูคารวม 7,118 ลานบาท และการจาง งานจํานวน 8,857 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอน พบวาทั้งจํานวนโครงการอนุมัติ มูลคาเงินลงทุน และการจางงานไดปรับตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 8.33, 6.91 และ 94.74 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะ พบวา ในเขตที่ 1 มีมูลคาเงินลงทุนและการจางงานปรับ เพิ่มขึ้น ในขณะที่ในเขตที่ 2 และ 3 มีการจางงานปรับ เพิ่มขึ้น แตมูลคาเงินลงทุนปรับลดลง โดยจังหวัด สมุทรสาครถือเปนเขตพื้นที่ที่มีเงินลงทุนมากที่สุด มี สัดสวนรอยละ 55.20 สําหรับกลุมสินคาที่มีเงินลงทุน มากที่สุด ไดแก อาหารสําเร็จรูปแชแข็ง มีมูลคาอยูที่ 2,532 ลานบาท คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 35.57 ของ เงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคืออาหารกึ่งสําเร็จรูปแช แข็ง มีมูลคา 1,397 ลานบาท สัดสวนรอยละ 19.63 และเบเกอรี่ มีมูลคา 1,192 ลานบาท สัดสวนรอยละ 16.75 และจากมูลคาของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะ มีผลทําใหในชวงไตรมาสที่ 3 ของป 2557 มีกําลังการ ผลิตสินคาเพื่อการบริโภคในกลุมอุตสาหกรรมอาหาร ปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 2.1 แสนตัน โดยแบงออกเปน กลุมสินคาอาหารสําเร็จรูปแชแข็ง จะมีกําลังการผลิต เพิ่มขึ้นในระบบ 155,250 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิต อยูที่ 9.7 แสนตันตอป) ดวยความสะดวกและรวดเร็ว ในการบริโภคที่มีเพิ่มมากขึ้น ทําใหมูลคาตลาดขยายตัว เพิ่มขึ้น, อาหารกึ่งสําเร็จรูปแชแข็งจะมีกําลังการผลิต ปรับเพิ่มขึ้น 37,500 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 6.5 แสนตัน ตอป) และกลุมเบเกอรี่จะมีกําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 21,180 ตัน (ทงั้ระบบอยูที่ 1.5 แสนตันตอป) สําหรับ การจางงานพบวากลุมสินคาอาหารสําเร็จรูปแชแข็ง มี การจางงานมากที่สุดจํานวน 3,950 คน คิดเปนสัดสวน ถึงรอยละ 44.60 รองลงมาคือเครื่องดื่มน้ําพืช ผักและ ผลไม มีการจางงาน 1,028 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 11.61 โดยปรับเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร และสมุทรสงคราม ตามลําดับ

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  พฤศจิกายน 2556

 

ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนกันยายน 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 13 โครงการ ดวยเงินลงทุนมีมลูคารวม 7,118 ลานบาท และการจาง งานจํานวน 8,857 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอน พบวาทั้งจํานวนโครงการอนุมัติ มูลคาเงินลงทุน และการจางงานไดปรับตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 8.33, 6.91 และ 94.74 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะ พบวา ในเขตที่ 1 มีมูลคาเงินลงทุนและการจางงานปรับ เพิ่มขึ้น ในขณะที่ในเขตที่ 2 และ 3 มีการจางงานปรับ เพิ่มขึ้น แตมูลคาเงินลงทุนปรับลดลง โดยจังหวัด สมุทรสาครถือเปนเขตพื้นที่ที่มีเงินลงทุนมากที่สุด มี สัดสวนรอยละ 55.20 สําหรับกลุมสินคาที่มีเงินลงทุน มากที่สุด ไดแก อาหารสําเร็จรูปแชแข็ง มีมูลคาอยูที่ 2,532 ลานบาท คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 35.57 ของ เงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคืออาหารกึ่งสําเร็จรูปแช แข็ง มีมูลคา 1,397 ลานบาท สัดสวนรอยละ 19.63 และเบเกอรี่ มีมูลคา 1,192 ลานบาท สัดสวนรอยละ 16.75 และจากมูลคาของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะ มีผลทําใหในชวงไตรมาสที่ 3 ของป 2557 มีกําลังการ ผลิตสินคาเพื่อการบริโภคในกลุมอุตสาหกรรมอาหาร ปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 2.1 แสนตัน โดยแบงออกเปน กลุมสินคาอาหารสําเร็จรูปแชแข็ง จะมีกําลังการผลิต เพิ่มขึ้นในระบบ 155,250 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิต อยูที่ 9.7 แสนตันตอป) ดวยความสะดวกและรวดเร็ว ในการบริโภคที่มีเพิ่มมากขึ้น ทําใหมูลคาตลาดขยายตัว เพิ่มขึ้น, อาหารกึ่งสําเร็จรูปแชแข็งจะมีกําลังการผลิต ปรับเพิ่มขึ้น 37,500 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 6.5 แสนตัน ตอป) และกลุมเบเกอรี่จะมีกําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 21,180 ตัน (ทงั้ระบบอยูที่ 1.5 แสนตันตอป) สําหรับ การจางงานพบวากลุมสินคาอาหารสําเร็จรูปแชแข็ง มี การจางงานมากที่สุดจํานวน 3,950 คน คิดเปนสัดสวน ถึงรอยละ 44.60 รองลงมาคือเครื่องดื่มน้ําพืช ผักและ ผลไม มีการจางงาน 1,028 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 11.61 โดยปรับเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร และสมุทรสงคราม ตามลําดับ

 

          ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มในเดือนกันยายน 2556 ปรับตัว ลดลง เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตรา การใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 46.86 ปรับลดลงรอย ละ 12.69 อัตราขยายตัวของการใชกําลังการผลิตใน กลุมผลิตภัณฑที่สําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องเปน เดือนที่ 8 ติดตอกัน โดยเฉพาะในกลุมสินคาที่สําคัญ ไดแก 1. เนื้อไกแชแข็ง ดวยปริมาณวัตถุดิบปรับลดลง ในตลาดและในบางพื้นที่มไีมเพียงพอ สงผลทําใหระดับ ราคาปรับเพิ่มสูงขึ้นตอเนื่อง เปนอุปสรรคตอภาคธุรกิจ ในการควบคุมตนทุนการผลิตใหคงที่ สําหรับผูผลิตและ แปรรูปของไทยเพื่อสงออก โดยแนวโนมการบริโภคของ ลกูคาในตลาดยังคงปรับเพิ่มขึ้นไมมากนัก เมื่อพิจารณา จากภาวะทางเศรษฐกิจและราคาสินคาที่ปรับเพิ่มสูงขึ้น ในตลาด (เนื้อไกแชแข็ง -30.73) 2. กุงขาว ปริมาณ วัตถุดิบที่ลดลงและระดับราคาอยูในเกณฑสูงตอเนื่อง ยังคงเปนปจจัยสําคัญในผลิตและแปรรูปสินคาเพื่อ สงออกใหกับลูกคา ขณะที่สถานการณการผลิตกุงขาว ของไทยยังมีระดับการใชกําลังการผลิตใกลเคียงกับ เดือนกอน และเมื่อระดับราคาสินคาไดปรับเพิ่มขึ้นตาม ตนทุนการผลิตที่สูงขึ้น ทําใหผูสงออกของไทยพบกับ การตอรองราคาจากลูกคา ดวยเหตุผลความไมมั่นใจจน ทําใหเกิดกําลังซื้อของผูบริโภคในตลาดลดลง อุปสรรค ที่สําคัญอีกประการคือ แนวโนมขาดแคลนแรงงานใน ปจจุบัน เนื่องจากชวงกอนหนาที่เกิดวิกฤตไดสงผลให ภาคการผลิตตองปรับลดกําลังการผลิตลง (กุงแชแข็ง  -33.11) 3. ทูนาแปรรูป วัตถุดบิเริ่มมีปริมาณเพิ่มมาก ขึ้น สะทอนภาพจากระดับราคาที่ลดลงซึ่งสงผลดีตอ ภาคการผลิตและแปรรูป แตในตลาดยังคงขาดความ เชื่อมั่นและยังไมมีปจจัยเสริมเพื่อกระตุนการบริโภคให เพิ่มมากขึ้น (ทูนากระปอง -19.05) 4. ผลไมและผัก กระปอง ผลกระทบจากสภาพอากาศที่แปรปรวนสงผล ใหผลผลิตที่ไดปรับลดลง และระดับราคาอยูในชวงเพิ่ม สูงขึ้น ยิ่งทําใหภาคการผลิตมีวัตถุดิบไมเพียงพอ โดยผู สงออกของไทยตองปรับราคาสินคาเพื่อสงออกเพิ่มขึ้น หากแตกลุมลูกคาสวนใหญก็มกีารตอรองราคาเชนกัน

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527