สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนมกราคม 2557

มกราคม 2557

รายละเอียด :


รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  มกราคม  2558

 

 

          ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 มีโครงการได้รับ อนุมัติให้การส่งเสริมเป็นจ านวนทั้งสิ้น 3 โครงการ ด้วย เงินลงทุนมีมูลค่ารวม 246 ล้านบาท และมีการจ้างงาน จ านวน 982 คน เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน พบว่าทั้งจ านวนโครงการอนุมัติ มูลค่าเงินลงทุนและการ จ้างงานได้ปรับตัวลดลงร้อยละ 90.00 40.49 และ 38.91 ตามล าดับ และเมื่อพิจารณาเป็นรายเขตจะ พบว่าในเขตที่ 1 ไม่พบโครงการที่อนุมัติให้การส่งเสริม ในขณะที่เขตที่ 2 และ 3 จ านวนโครงการอนุมัติ มูลค่า เงินลงทุน และการจ้างงานปรับลดลง โดยจังหวัดชุมพร ถือเป็นเขตพื้นที่ที่มีเงินลงทุนมากที่สุด มีสัดส่วนร้อยละ 63.47 ส าหรับกลุ่มสินค้าที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ได้แก่ เนยเทียมและเนยขาว มีมูลค่าอยู่ที่ 90 ล้านบาท คิด เป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 36.53 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือ สัตว์น้ าแช่แข็ง มีมูลค่า 80 ล้านบาท สัดส่วนร้อยละ 32.39 และอาหารกึ่ง/ส าเร็จรูปแช่แข็ง มีมูลค่า 77 ล้านบาท สัดส่วนร้อยละ 31.09 และจาก มูลค่าของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุ่มสินค้า จะมีผลท าให้ ในช่วงไตรมาสที่ 3 ของปี 2557 มีก าลังการผลิตสินค้า เพื่อการบริโภคในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารปรับเพิ่มขึ้น ประมาณ 3.8 หมื่นตัน โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มสินค้าเนย เทียมและเนยขาว จะมีก าลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 21,600 ตัน (ทั้งระบบก าลังการผลิตอยู่ที่ 1.5 แสนตัน ต่อปี) ด้วยความต้องการใช้เพื่อเป็นวัตถุดิบการผลิตใน อุตสาหกรรมอาหารที่เพิ่มมากขึ้น, สัตว์น้ าแช่แข็ง จะมี ก าลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 7,125 ตัน (ทั้งระบบอยู่ที่ 1.8 ล้านตันต่อปี) และอาหารกึ่ง/ส าเร็จรูปแช่แข็ง จะมี ก าลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 9,000 ตัน (ทั้งระบบอยู่ที่ 1.0 ล้านตันต่อปี) ส าหรับการจ้างงานพบว่ากลุ่มสินค้า อาหารกึ่ง/ส าเร็จรูปแช่แข็ง มีการจ้างงานมากที่สุด จ านวน 554 คน คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 56.42 รองลงมาคือสัตว์น้ าแช่แข็ง มีการจ้างงาน 393 คน คิด เป็นร้อยละ 40.02 และเนยเทียมและเนยขาวมีการจ้าง งาน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 3.56 โดยการจ้างงานปรับ เพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดชุมพร และชลบุรี ตามลำดับ


รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  มกราคม  2558

 

 

 

          ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 มีโครงการได้รับ อนุมัติให้การส่งเสริมเป็นจ านวนทั้งสิ้น 3 โครงการ ด้วย เงินลงทุนมีมูลค่ารวม 246 ล้านบาท และมีการจ้างงาน จ านวน 982 คน เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน พบว่าทั้งจ านวนโครงการอนุมัติ มูลค่าเงินลงทุนและการ จ้างงานได้ปรับตัวลดลงร้อยละ 90.00 40.49 และ 38.91 ตามล าดับ และเมื่อพิจารณาเป็นรายเขตจะ พบว่าในเขตที่ 1 ไม่พบโครงการที่อนุมัติให้การส่งเสริม ในขณะที่เขตที่ 2 และ 3 จ านวนโครงการอนุมัติ มูลค่า เงินลงทุน และการจ้างงานปรับลดลง โดยจังหวัดชุมพร ถือเป็นเขตพื้นที่ที่มีเงินลงทุนมากที่สุด มีสัดส่วนร้อยละ 63.47 ส าหรับกลุ่มสินค้าที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ได้แก่ เนยเทียมและเนยขาว มีมูลค่าอยู่ที่ 90 ล้านบาท คิด เป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 36.53 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือ สัตว์น้ าแช่แข็ง มีมูลค่า 80 ล้านบาท สัดส่วนร้อยละ 32.39 และอาหารกึ่ง/ส าเร็จรูปแช่แข็ง มีมูลค่า 77 ล้านบาท สัดส่วนร้อยละ 31.09 และจาก มูลค่าของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุ่มสินค้า จะมีผลท าให้ ในช่วงไตรมาสที่ 3 ของปี 2557 มีก าลังการผลิตสินค้า เพื่อการบริโภคในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารปรับเพิ่มขึ้น ประมาณ 3.8 หมื่นตัน โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มสินค้าเนย เทียมและเนยขาว จะมีก าลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 21,600 ตัน (ทั้งระบบก าลังการผลิตอยู่ที่ 1.5 แสนตัน ต่อปี) ด้วยความต้องการใช้เพื่อเป็นวัตถุดิบการผลิตใน อุตสาหกรรมอาหารที่เพิ่มมากขึ้น, สัตว์น้ าแช่แข็ง จะมี ก าลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 7,125 ตัน (ทั้งระบบอยู่ที่ 1.8 ล้านตันต่อปี) และอาหารกึ่ง/ส าเร็จรูปแช่แข็ง จะมี ก าลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 9,000 ตัน (ทั้งระบบอยู่ที่ 1.0 ล้านตันต่อปี) ส าหรับการจ้างงานพบว่ากลุ่มสินค้า อาหารกึ่ง/ส าเร็จรูปแช่แข็ง มีการจ้างงานมากที่สุด จ านวน 554 คน คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 56.42 รองลงมาคือสัตว์น้ าแช่แข็ง มีการจ้างงาน 393 คน คิด เป็นร้อยละ 40.02 และเนยเทียมและเนยขาวมีการจ้าง งาน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 3.56 โดยการจ้างงานปรับ เพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดชุมพร และชลบุรี ตามลำดับ

          ดัชนีอัตราการใช้กำลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มเดือนพฤศจิกายน 2556 ปรับตัว ลดลงร้อยละ 16.17 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน โดยมีอัตราการใช้ก าลังการผลิตอยู่ที่ระดับ 50.72 การเปลี่ยนแปลงของดัชนีอัตราการใช้กำลังการผลิตใน กลุ่มสินค้าส าคัญยังคงปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10 โดยเฉพาะในกลุ่มสินค้าคือ 1. กุ้งขาวแวนนาไม (กุ้งแช่แข็งลดลงร้อยละ 47.86) จากอากาศที่หนาวเย็น เพิ่มมากขึ้น ยิ่งส่งผลกระทบต่อเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงกุ้ง ให้ล าบากเพิ่มมากขึ้น กับปริมาณผลผลิตที่คาดว่าจะได้ กลับคืนมาจ านวนใกล้เคียงก่อนเกิดวิกฤตโรคระบาดขึ้น และด้วยความต้องการของตลาดที่ยังมีต่อเนื่อง ท าให้ ผู้ผลิตและแปรรูปกุ้งขาวในบ้านเราต้องเผชิญกับต้นทุน ที่เพิ่มสูงขึ้นจากระดับราคาวัตถุดิบในตลาดตามกลไก ราคา โดยเฉพาะผู้ที่น าเข้ากุ้งขาวจากต่างประเทศ ซึ่ง อาจส่งผลต่อผลก าไรต่อหน่วยของสินค้าที่ส่งออกให้ลด น้อยลงจากช่วงที่ผ่านมา 2. ผลไม้แปรรูป (สับปะรด กระป๋องลดลงร้อยละ 38.41, น้้าผลไม้ลดลงร้อยละ 35.51) ผลผลิตที่เริ่มเข้าสู่ตลาดปรับลดลงตามฤดูกาล เก็บเกี่ยวที่มี (โดยเฉพาะสับปะรด) ซึ่งส่งผลต่อระดับ การผลิตของโรงงานที่ต้องปรับลดลง ขณะที่ระดับราคา วัตถุดิบปรับเพิ่มขึ้นตามปริมาณผลผลิตในตลาด เมื่อ พิจารณาความต้องการของตลาดที่ชะลอตัวลงตาม ประเทศผู้น าเข้าที่ส าคัญ ถือเป็นปัจจัยที่ส่งผลเสียต่อ ผู้ผลิตและแปรรูปของไทยที่ส่งออก ซึ่งท าให้ภาคธุรกิจ ต้องพยายามผลักดันสินค้าเข้าสู่ตลาดใหม่ๆ ให้ได้เพิ่ม มากขึ้นจากช่วงระยะเวลาที่เหลือ 3. ทูน่ากระป๋อง (ปรับ ลดลงร้อยละ 23.17) ผู้ผลิตและแปรรูปของไทยต่าง ปรับระดับการผลิตให้ลดลง เพื่อสอดคล้องกับปริมาณ ค าสั่งซื้อที่ชะลอตัวลง ขณะที่ระดับราคาวัตถุดิบได้ปรับ ลดลงต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลดีต่อต้นทุนการผลิต 4. เนื้อไก่ แช่แข็ง/แช่เย็น (ปรับลดลงร้อยละ 13.51) จากภาค การผลิตที่มีระดับเพิ่มสูงขึ้นจากเดือนก่อน ด้วยปัจจัย จากปริมาณส่งออกที่เพิ่มมากขึ้น ตามการคาดหมายของ ร้านค้าปลีกในต่างประเทศ กับความต้องการของตลาดที่ คาดว่าจะเพิ่มสูงขึ้นในช่วงเทศกาลคริสต์มาสและปีใหม่

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527