สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือนกุมภาพันธ์ 2558

กุมภาพันธ์ 2558

รายละเอียด :

    ดัชนีอัตราการใช้ก้าลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เดือนธันวาคม 2557 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ย. เล็กน้อยมีค่าอยู่ที่ ร้อยละ 52.05 ท้าให้สรุปภาพรวมอัตราการใช้ก้าลังการผลิตปี 2557 ทั้งปีเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 48.47 มีอัตราลดลงจากปี 2556 ร้อยละ  6.37 จากกราฟจะเห็นได้ว่าตลอดทั้งปีอุตสาหกรรมมีการใช้ก้าลังการ ผลิตต่้ากว่าปี 2556 เกือบทุกเดือน ยกเว้นในเดือนธันวาคมที่ปรับตัว สูงกว่าปี 2556 ซึ่งถือว่าเป็นสัญญานที่ดี ส้าหรับดัชนีการส่งสินค้าอาหารและเครื่องดื่ม เดือน ธ.ค. มีค่าอยู่ที่ ร้อยละ 143.48 ภาพรวมทั้งปีจึงเป็นร้อยละ 132.77 ยังต่้ากว่าปีก่อน หน้าร้อยละ 5.2  โดยจากดัชนีพบว่าสัญญานการส่งมอบสินค้าของ ผู้ผลิตเริ่มมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นตั้งแต่ช่วงกลางปี ดัชนีสินค้าส้าเร็จรูปคงคลัง ซึ่งสะท้อนปริมาณสินค้าส้าเร็จรูปที่มีเก็บ สะสมไว้หากปริมาณสูงมากเกินไปก็จะเป็นภาระของโรงงาน พบว่าใน เดือน ธ.ค. มีค่าอยู่ที่ร้อยละ 153.71 ดัชนีมีค่าลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ ต.ค. โดยภาพรวมทั้งปีมีค่าดัชนีเท่ากับ  226.69 มีอัตราลดลงจากปีที่แล้ว 

 

    ดัชนีอัตราการใช้ก้าลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เดือนธันวาคม 2557 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ย. เล็กน้อยมีค่าอยู่ที่ ร้อยละ 52.05 ท้าให้สรุปภาพรวมอัตราการใช้ก้าลังการผลิตปี 2557 ทั้งปีเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 48.47 มีอัตราลดลงจากปี 2556 ร้อยละ  6.37 จากกราฟจะเห็นได้ว่าตลอดทั้งปีอุตสาหกรรมมีการใช้ก้าลังการ ผลิตต่้ากว่าปี 2556 เกือบทุกเดือน ยกเว้นในเดือนธันวาคมที่ปรับตัว สูงกว่าปี 2556 ซึ่งถือว่าเป็นสัญญานที่ดี ส้าหรับดัชนีการส่งสินค้าอาหารและเครื่องดื่ม เดือน ธ.ค. มีค่าอยู่ที่ ร้อยละ 143.48 ภาพรวมทั้งปีจึงเป็นร้อยละ 132.77 ยังต่้ากว่าปีก่อน หน้าร้อยละ 5.2  โดยจากดัชนีพบว่าสัญญานการส่งมอบสินค้าของ ผู้ผลิตเริ่มมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นตั้งแต่ช่วงกลางปี ดัชนีสินค้าส้าเร็จรูปคงคลัง ซึ่งสะท้อนปริมาณสินค้าส้าเร็จรูปที่มีเก็บ สะสมไว้หากปริมาณสูงมากเกินไปก็จะเป็นภาระของโรงงาน พบว่าใน เดือน ธ.ค. มีค่าอยู่ที่ร้อยละ 153.71 ดัชนีมีค่าลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ ต.ค. โดยภาพรวมทั้งปีมีค่าดัชนีเท่ากับ  226.69 มีอัตราลดลงจากปีที่แล้ว 

 

 

การนำเข้า-การส่งออก
          เดือนมกราคม 2558 มูลค่าน้าเข้าสินค้าวัตถุดิบและอาหารแปรรูป อยู่ที่  28,035.50* ล้าน บาท มีอัตราลดลงจากเดือนเดียวกันปี 2557 ร้อยละ 3.33 ทั้งนี้ มีสาเหตุส้าคัญจากการน้าเข้าสกิปแจ็ค ทูน่าแช่แข็งซึ่งเป็นสินค้าที่มีสัดส่วนน้าเข้าสูงปริมาณลดลงร้อยละ 20.50 มูลค่าลดลงร้อยละ 35.27 ขณะที่ทูน่าครีบเหลืองน้าเข้าปริมาณลดลงร้อยละ 5.43 มูลค่าลดลงร้อยละ 22.22  อย่างไรก็ตาม มี การน้าเข้าข้าวสาลีในเดือนมกราคม 2558 เพิ่มขึ้นกว่า 3 เท่าตัวเชิงปริมาณและมูลค่าเมื่อเทียบกับปี 2557 เช่นเดียวกับการน้าเข้าหมึกกล้วยแช่แข็ง ปลาซาร์ดีน และแม็คเคอเรลแช่แข็ง ที่ปริมาณน้าเข้า เพิ่มขึ้นมากกว้าร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว แสดงถึงความต้องการของภาคอุตสาหกรรมในการแปรรูป สินค้ากลุ่มนี้ที่ยังมีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง   
          สำหรับการส่งออกสินค้าอาหารในเดือนมกราคม มีมูลค่า 66,623.47* ล้านบาท มี อัตราลดลงจากช่วงเดียวกันของปี 2557 ร้อยละ 1.97 สินค้าส่งออกที่ส้าคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่  ไก่แปรรูป มูลค่าส่งออก 33,610.95  ล้านบาท(ลดลง 5.11%)  ข้าวหอมมะลิ 100% เกรด บี มูลค่า 3,963.16 ล้านบาท (ลดลง 6.56%)  ทูน่าแปรรูป มูลค่า 3,844.53 ล้านบาท (ลดลง 18.65%)   สตาร์ชมันส้าปะหลัง มูลค่า 3,528.60 ล้านบาท (เพิ่มขึ้น 13.13%)   และกุ้งขาวแปร รูป มูลค่า 2,041.38 ล้านบาท (เพิ่มขึ้น 1.21%)  ทั้งนี้ หากพิจารณาในภาพรวมพบว่า กลุ่มสินค้า ส่งออกส้าคัญ เช่น ข้าว น้้าตาลทราย ไก่แปรรูป ผักสดแช่เย็นแช่แข็ง ล้วนส่งออกมูลค่าลดลงเมื่อ เทียบกับเดือน ม.ค. 2557

 

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527