สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือนมีนาคม 2558

มีนาคม 2558

รายละเอียด :

ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม

 ดัชนีอัตราการใช้กําลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่ม เดือนมกราคม มีค่าร้อยละ 51.53 เมื่อเทียบกับเดือน ม.ค. 2557 ลดลงร้อยละ 4.17 อุตสาหกรรมที่มีอัตราการใช้กําลังการผลิต ลดลงมากกว่าร้อยละ 10 ที่สําคัญ เช่น ปลาซาร์ดีนกระป๋อง ข้าวโพด ฝักอ่อนกระป๋อง สับปะรดกระป๋อง น้ํามันปาล์ม น้ํามันรําข้าวดิบ และ ไอศกรีม อุตสาหกรรมที่มีอัตราการใช้กําลังการเพิ่มขึ้น มากกว่าร้อยละ 10 ที่สําคัญ เช่น น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ นมพร้อมดื่ม นมข้นหวาน ขนมปังเวเฟอร์ เบียร์ ส่วนสินค้าส่งออกหลักอย่างไก่แปรรูป ทูน่า กระป๋อง หมึกแช่แข็ง มีอัตราการใช้กําลังการผลิตเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ร้อยละ 6.6-7.6   ดัชนีสินค้าสําเร็จรูปคงคลังของสินค้าอาหารและเครื่องดื่ม เดือน ม.ค. มีค่าร้อยละ 187.61 ลดลงจากปีที่แล้วร้อยละ 25.93 ซึ่ง สะท้อนปริมาณสินค้าสําเร็จรูปท่ีมีเก็บสะสมไว้ 3 ลักษณะ คือ 1) สินค้าที่มีสต็อกในระดับสูงกว่าช่วงเดียวกันของปี 57

ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม

 ดัชนีอัตราการใช้กําลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่ม เดือนมกราคม มีค่าร้อยละ 51.53 เมื่อเทียบกับเดือน ม.ค. 2557 ลดลงร้อยละ 4.17 อุตสาหกรรมที่มีอัตราการใช้กําลังการผลิต ลดลงมากกว่าร้อยละ 10 ที่สําคัญ เช่น ปลาซาร์ดีนกระป๋อง ข้าวโพด ฝักอ่อนกระป๋อง สับปะรดกระป๋อง น้ํามันปาล์ม น้ํามันรําข้าวดิบ และ ไอศกรีม อุตสาหกรรมที่มีอัตราการใช้กําลังการเพิ่มขึ้น มากกว่าร้อยละ 10 ที่สําคัญ เช่น น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ นมพร้อมดื่ม นมข้นหวาน ขนมปังเวเฟอร์ เบียร์ ส่วนสินค้าส่งออกหลักอย่างไก่แปรรูป ทูน่า กระป๋อง หมึกแช่แข็ง มีอัตราการใช้กําลังการผลิตเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ร้อยละ 6.6-7.6   ดัชนีสินค้าสําเร็จรูปคงคลังของสินค้าอาหารและเครื่องดื่ม เดือน ม.ค. มีค่าร้อยละ 187.61 ลดลงจากปีที่แล้วร้อยละ 25.93 ซึ่ง สะท้อนปริมาณสินค้าสําเร็จรูปท่ีมีเก็บสะสมไว้ 3 ลักษณะ คือ 1) สินค้าที่มีสต็อกในระดับสูงกว่าช่วงเดียวกันของปี 57


การนําเข้า – ส่งออก  มูลค่านําเข้าสินค้าวัตถุดิบและอาหารแปรรูปสะสม 2 เดือน อยู่ที่ 54,205.17* ล้าน บาท มีอัตราขยายตัวเพ่ิมขึ้นจากช่วงเดียวกันปี 2557 ร้อยละ 6.49 ทั้งนี้ มีสาเหตุสําคัญจากการ นําเข้าสกิปแจ็คทูน่าแช่แข็ง ข้าวสาลี แอ้ปเปิ้ล และหมึกแช่แข็ง เพิ่มขึ้นมากในช่วงนี้ โดยมูลค่า นําเข้าสินค้าทั้ง 4 รายการมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 19.7 ของมูลค่านําเข้าทั้งหมดจาก 1,075 รายการ  สําหรับการส่งออกสินค้าอาหารในเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ มีมูลค่า 129,410.52* ล้านบาท มีอัตราลดลงจากช่วงเดยีวกันของปี 2557 ร้อยละ 3.23 สินค้าส่งออกที่สําคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ ไก่แปรรูป มูลค่าส่งออก 9,605.36  ล้านบาท (ลดลง 4.85%)  ทูน่าแปรรูป มูลค่า 7,483.40 ล้านบาท (ลดลง 20.55%)  สตาร์ช มันสําปะหลัง มูลค่า 7,318.33 ล้านบาท (เพิ่มขึ้น 8.23%)  ข้าวหอมมะลิ 100% เกรด บีมูลค่า 7,088.45 ล้านบาท (ลดลง 10.13%) และข้าวนึ่ง มูลค่า 4,343.60 ล้าน บาท (เพิ่มขึ้น -9.31%)  โดยทั้ง 5 สินค้ารวมกันมีมูลค่าส่งออกประมาณร้อยละ 27.7 ของ มูลค่าส่งออกอาหารและเครื่องดื่มจาก 1,137 รายการ ทั้งนี้ แนวโน้มการส่งออกอาหารช่วง 2 เดอืนแรกมีสัญญานชะลอตัวลงจากช่วงเดียวกันของ ปีที่แล้ว เนื่องจากสถานการณ์เศรษฐกิจโลกฟนื้ตัวช้ากว่าที่คาดส่งผลให้ความตอ้งการสินค้า ลดลงอย่างต่อเนื่อง  ราคาสินค้าเกษตรที่ลดต่ําลง การแข็งค่าของค่าเงินบาทเมอื่เทียบกับ ประเทศคู่ค้าและประเทศคู่แข่งสง่ผลให้สินค้าไทยมีราคาแพงขนึ้ ประเทศคู่ค้าชะลอคําสั่งซื้อ

 

 

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527