สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือนพฤษภาคม 2558

พฤษภาคม 2558

รายละเอียด :

 

ภาวะอุตสาหกรรม

                                      ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ดัชนีอัตราการใช้กำลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่ม ไตรมาสที่ 1/2558 มีค่าร้อยละ 52.58 เมื่อเทียบ กับไตรมาสที่ 1/2557 มีอัตราใกล้เคียงกัน  เมื่อเปรียบเทียบ ช่วงเวลาเดียวกันของไตรมาสที่ 1 ปี 2558/57 พบว่า อุตสาหกรรมการผลิตที่มีอัตราการใช้กำลังในระดับทรงตัวเพิ่ม/ ลดไม่เกินร้อยละ 5 ได้แก่ เนื้อไก่แช่แข็ง และแช่เย็น ทูน่ากระป๋อง ซาร์ดีนกระป๋อง หมึกแช่แข็งน้ำตาลทรายดิบ/ขำว ผงชูรส เบคอน คุกกี้ ส่วนสินค้าที่มีอัตราการใช้กำลังกำรผลิตเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อย ละ 10 เช่น น้ำมันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ น้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ แป้ง มันสำปะหลัง ขนมปังเวเฟอร์ ซอสถั่วเหลือง เต้ำเจี้ยว ซีอิ๊ว เบียร์  สินค้ำที่มีอัตรำกำรใช้ก ำลังกำรผลิตลดลงมำกกว่ำร้อยละ 10 เช่น ปลำแช่แข็ง ข้ำวโพดหวำนกระป๋อง สับปะรดกระป๋อง น้ ำผลไม้ น้ ำมันถั่วเหลืองดิบ น้ ำมันปำล์มดิบ/บริสุทธิ์ น้ ำมันร ำข้ำวดิบ ไอศกรีม น้ ำปลำ ในขณะที่ดัชนีกำรส่งสินค้ำอำหำรและเครื่องดื่ม ไตรมำสที่ 1/2558 มีค่ำ 129.26 ใกล้เคียงกับไตรมำสที่ 1/2557 เช่นกัน แสดงถึงโดยภำพรวมกำรผลิตและกำรกระจำยสินค้ำ อำหำรและเครื่องดื่มของไทยในปีนี้มีภำวะใกล้เคียงกับปีที่แล้ว ขณะที่ดัชนีสินค้ำส ำเร็จรูปคงคลังมีค่ำลดลงจำกช่วงปีที่แล้วร้อย ละ 21.50 แสดงถึงกำรจัดกำรด้ำนคลังสินค้ำที่มีประสิทธิภำพ มากขึ้น  

 

ภาวะอุตสาหกรรม

                                      ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ดัชนีอัตราการใช้กำลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่ม ไตรมาสที่ 1/2558 มีค่าร้อยละ 52.58 เมื่อเทียบ กับไตรมาสที่ 1/2557 มีอัตราใกล้เคียงกัน  เมื่อเปรียบเทียบ ช่วงเวลาเดียวกันของไตรมาสที่ 1 ปี 2558/57 พบว่า อุตสาหกรรมการผลิตที่มีอัตราการใช้กำลังในระดับทรงตัวเพิ่ม/ ลดไม่เกินร้อยละ 5 ได้แก่ เนื้อไก่แช่แข็ง และแช่เย็น ทูน่ากระป๋อง ซาร์ดีนกระป๋อง หมึกแช่แข็งน้ำตาลทรายดิบ/ขำว ผงชูรส เบคอน คุกกี้ ส่วนสินค้าที่มีอัตราการใช้กำลังกำรผลิตเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อย ละ 10 เช่น น้ำมันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ น้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ แป้ง มันสำปะหลัง ขนมปังเวเฟอร์ ซอสถั่วเหลือง เต้ำเจี้ยว ซีอิ๊ว เบียร์  สินค้ำที่มีอัตรำกำรใช้ก ำลังกำรผลิตลดลงมำกกว่ำร้อยละ 10 เช่น ปลำแช่แข็ง ข้ำวโพดหวำนกระป๋อง สับปะรดกระป๋อง น้ำผลไม้ น้ำมันถั่วเหลืองดิบ น้ ำมันปำล์มดิบ/บริสุทธิ์ น้ ำมันร ำข้ำวดิบ ไอศกรีม น้ ำปลำ ในขณะที่ดัชนีกำรส่งสินค้ำอำหำรและเครื่องดื่ม ไตรมำสที่ 1/2558 มีค่ำ 129.26 ใกล้เคียงกับไตรมำสที่ 1/2557 เช่นกัน แสดงถึงโดยภำพรวมกำรผลิตและกำรกระจำยสินค้ำ อำหำรและเครื่องดื่มของไทยในปีนี้มีภำวะใกล้เคียงกับปีที่แล้ว ขณะที่ดัชนีสินค้ำส ำเร็จรูปคงคลังมีค่ำลดลงจำกช่วงปีที่แล้วร้อย ละ 21.50 แสดงถึงกำรจัดกำรด้ำนคลังสินค้าที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น  

 

          สำหรับภำวะกำรผลิตกุ้งแช่แข็งนั้นพบว่ำอัตรำกำรใช้ก ำลังกำรผลิตไตรมำสที่ 1/2558 อยู่ที่เพียงร้อยละ 15.90 เพิ่มขึ้นจำกปีที่แล้วร้อยละ 9.44 ดัชนีกำรจัดส่งสินค้ำอยู่ที่ร้อยละ 41.52 ลดลงจำกปีที่แล้วร้อยละ 3.90 ดัชนี สินค้ำส ำเร็จรูปคงคลัง อยู่ที่ 129.33 ลดลงจำกปีที่แล้วร้อยละ 56.10 แสดงถึงกำรแปรรูปในอุตสำหกรรมยังไม่ฟื้นตัว รวทั้งตลำดก็ยังชะลอตัว เมื่อพิจำรณำประกอบกับข้อมูลด้ำนกำรผลิตกุ้งจำกกรมประมงก็สอดคล้องกัน พบว่ำผลผลิต กุ้งขำวปรับตัวเพิ่มขึ้นประมำณร้อยละ 14  ซึ่งเมื่อเทียบกับผลผลิตในปีก่อนในช่วงเดียวกัน ผลผลิตกุ้งในเกือบทุกภำค เพิ่มขึ้น 12-40% ยกเว้นภำคใต้ตอนล่ำงฝั่งอันดำมัน ผลผลิตลดลง 11.6%  กำรที่ผลผลิตยังเพิ่มขึ้นไม่มำกนัก ส่วน หนึ่งมำจำกสถำนกำรณ์รำคำกุ้งมีแนวโน้มตกต่ำ จึงอำจส่งผลกระทบต่อแรงจูงใจในกำรลงกุ้งของเกษตรกร ท ำให้ ปริมำณวัตถุดิบเข้ำสุ่ภำคอุตสำหกรรมยังมีน้อย  อีกสินค้ำส่งออกส ำคัญที่ดัชนีอัตรำกำรใช้ก ำลังกำรผลิตลดลงค่อนข้ำงมำกในไตรมำสที่ 1/2558 คือ สับปะรด กระป๋อง มีค่าอยู่ที่ร้อยละ 27.52 ลดลงร้อยละ 14.42 จำกปีที่แล้ว ซึ่งดัชนีสินค้ำสำเร็จรูปคงคลังก็มีระดับลดลงจำก ช่วงเดียวกันถึงร้อยละ 55.50  ดัชนีกำรส่งสินค้ำลดลงร้อยละ 18.76  เมื่อพิจำรณำข้อมูลด้ำนกำรผลิตสับปะรดพบว่ำ ในช่วงเดือน ม.ค.-มี.ค. 2558 มีลักษณะอำกำศร้อนกว่ำปีที่แล้ว และคำดว่ำจะประสบปญัหำภัยแล้ง ทำให้ต้นสับปะรด ไม่สมบูรณ์ ผลมีขนำดและน้ ำหนกัลดลง ส่งผลให้ภำพรวมผลผลิตลดลงดว้ย  ในช่วงนี้มีผลผลิตสับปะรดออกสู่ตลำดวนั ละประมำณ 4,500 - 5,000 ตัน ซึ่งยังไม่เพียงพอต่อควำมต้องกำรของโรงงำนแปรรูปสับปะรดที่มีประมำณวันละ 10,000 ตัน ท ำให้โรงงำนแปรรูปปรับรำคำรับซื้อเพิ่มขึ้น

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527