สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือนมิถุนายน 2558

มิถุนายน 2558

รายละเอียด :

ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
          ดัชนีอัตราการใช้ก าลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่ม 4 เดือนแรกปี 2558 มีค่าร้อยละ 50.71 เมื่อ เปรียบเทียบช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว พบว่ามีอัตราเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.70 อัตราการใช้กำลังการผลิตเดือนเมษายน เท่ากับ ร้อยละ 46.47 มีอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.74 เนื่องจากเป็นช่วง เทศกาลหยุดยาวสงกรานต์โรงงานหลายแห่งหยุดท าการผลิตท า ให้อัตราการใช้ก าลังการผลิตลดต่ าลงกว่าช่วง 3 เดือนแรกของปี แต่จากภาวะเศรษฐกิจที่ในประเทศที่ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นมาก ขึ้นท าให้ยังมีแนวโน้มดีกว่าปี 2557 อุตสาหกรรมการผลิตที่มี อัตราการใช้ก าลังลดลงมากกว่าร้อยละ 20 คือ ไส้กรอก ลูกชิ้นไก่ เนื่องจากเป็นช่วงปิดเทอมยาวด้วยซึ่งเป็นสินค้าที่มีการบริโภค มากส าหรับนักเรียน สอดคล้องกับค่าดัชนีการส่งสินค้าที่ลดลง มากกว่าร้อยละ 20 เช่นกัน   ดัชนีการส่งสินค้าอาหารและเครื่องดื่มเดือนเมษายน มีค่า ร้อยละ 124.33 ลดลงจากเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 5.22 มี ประเด็นข้อสังเกตุคือสินค้าส่งออกที่ส าคัญหลายรายการดัชนีการ ส่งสินค้าเดือนเมษายนมีอัตราลดลงมากกว่าร้อยละ 15 เช่น กุ้ง แช่แข็ง ปลาแช่แข็ง หมึกแช่แข็ง น้ าผลไม้ อัตราลดลงร้อยละ 1015 เช่น ทูน่ากระป๋อง น้ำตาลทรายดิบ เนื่องจากตลาดส่งออก เศรษฐกิจยังชะลอตัว ผู้นำเข้าชะลอค่าสั่งซื้อ

ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
          ดัชนีอัตราการใช้ก าลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่ม 4 เดือนแรกปี 2558 มีค่าร้อยละ 50.71 เมื่อ เปรียบเทียบช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว พบว่ามีอัตราเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.70 อัตราการใช้กำลังการผลิตเดือนเมษายน เท่ากับ ร้อยละ 46.47 มีอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.74 เนื่องจากเป็นช่วง เทศกาลหยุดยาวสงกรานต์โรงงานหลายแห่งหยุดท าการผลิตท า ให้อัตราการใช้ก าลังการผลิตลดต่ าลงกว่าช่วง 3 เดือนแรกของปี แต่จากภาวะเศรษฐกิจที่ในประเทศที่ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นมาก ขึ้นท าให้ยังมีแนวโน้มดีกว่าปี 2557 อุตสาหกรรมการผลิตที่มี อัตราการใช้ก าลังลดลงมากกว่าร้อยละ 20 คือ ไส้กรอก ลูกชิ้นไก่ เนื่องจากเป็นช่วงปิดเทอมยาวด้วยซึ่งเป็นสินค้าที่มีการบริโภค มากส าหรับนักเรียน สอดคล้องกับค่าดัชนีการส่งสินค้าที่ลดลง มากกว่าร้อยละ 20 เช่นกัน   ดัชนีการส่งสินค้าอาหารและเครื่องดื่มเดือนเมษายน มีค่า ร้อยละ 124.33 ลดลงจากเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 5.22 มี ประเด็นข้อสังเกตุคือสินค้าส่งออกที่ส าคัญหลายรายการดัชนีการ ส่งสินค้าเดือนเมษายนมีอัตราลดลงมากกว่าร้อยละ 15 เช่น กุ้ง แช่แข็ง ปลาแช่แข็ง หมึกแช่แข็ง น้ าผลไม้ อัตราลดลงร้อยละ 1015 เช่น ทูน่ากระป๋อง น้ำตาลทรายดิบ เนื่องจากตลาดส่งออก เศรษฐกิจยังชะลอตัว ผู้นำเข้าชะลอค่าสั่งซื้อ

 

บางอุตสาหกรรมมีอัตราการใช้ก าลังการผลิตเพิ่มขึ้น แต่ดัชนีการส่งสินค้าลดลง เช่น ทูน่ากระป๋อง ไก่แช่แข็ง ท าให้สินค้าส าเร็จรูปคงคลังเพิ่มสูงขึ้น ส าหรับทูน่ากระป๋องเนื่องจากตลาดส่งออกชะลอตัว บางสินค้าดัชนีอัตราการใช้ ก าลังการผลิตลดลง เพราะยังมีสินค้าส าเร็จรูปคงคลังอยู่มาก และดัชนีการส่งสินค้าก็ลดลงด้วย เช่น ปลาแช่แข็ง น้ าตาลทรายดิบ  อย่างไรก็ตามพบว่า สินค้าบางรายการที่ดัชนีการส่งสินค้ามีอัตราขยายตัวเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 15 เมื่อ เทียบกับเดือนเดียวกันปีที่แล้ว เช่น แฮม น้ ามันมะพร้าวบริสุทธิ์ นมข้นหวาน ไอศกรีม

การนำเข้า – ส่งออก  มูลค่านำเข้าสินค้าวัตถุดิบ อาหารแปรรูปและเครื่องดื่ม เดือน มกราคม-พฤษภาคม อยู่ที่ 139,936.85 * ล้านบาท มีอัตราเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปี 2557 ร้อยละ 6.13    

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527