สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2554

กุมภาพันธ์ 2554

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

สรุปการค้าอาหารเดือนมกราคม–ธันวาคม 2553

 

บทสรุป

ภาวะการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหาร ช่วงเดือน มกราคม – ธันวาคม 2553 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการ สงเสริมจํานวนท้ังสิ้น 67 โครงการ เงินลงทุนรวม 13,465 ลานบาท และมีการจางงานรวม 16,258 คน โดยภาวะการ ลงทุนในเดือนธันวาคม 2553 มีโครงการที่ไดรับการอนุมัติ จํานวน 4 โครงการ เงินลงทุนมูลคา 460 ลานบาท และมี การจางงานเพิ่มขึ้นจํานวน 316 คน  จํานวนผูประกอบธุรกิจที่ไดรับอนุญาตและเริ่ม กิจการในเดือนมกราคม 2554 มีจํานวน 10 โรงงาน ใชเงิน ลงทุนมูลคา 1,875 ลานบาท และมีการจางงานเพิ่ม 269 คน สวนผูประกอบธุรกิจที่ขอเลิกกิจการมีจํานวน 9 โรงงาน เงินลงทุนที่ใชไปมีมูลคา 33 ลานบาท และเลิกจางงาน จํานวน 55 คน โดยรอยละ 32.73 เลิกจางงานในเขตจังหวัด พัทลุง     ภาวะการผลิตโดยรวมของอุตสาหกรรมในเดือน ธันวาคม 2553 ขยายตัวเพิ่มขึ้น อัตราการใชกําลังการผลิต อยูที่ระดับ 61.70 ปรับเพิ่มขึ้นจากเดือนกอนรอยละ 9.88 ตามกลุมสินคาเกษตรและแปรรูป สวนดัชนีผลผลิต อุตสาหกรรมอยูที่ระดับ 163.23 ปรับเพิ่มขึ้นจากเดือนกอน รอยละ 16.60 ตามการสงออกที่เพิ่มขึ้นในกลุมสินคา ดังกลาวจากความตองการที่มีเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง 

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

สรุปการค้าอาหารเดือนมกราคม–ธันวาคม 2553

 

บทสรุป

ภาวะการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหาร ช่วงเดือน มกราคม – ธันวาคม 2553 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการ สงเสริมจํานวนท้ังสิ้น 67 โครงการ เงินลงทุนรวม 13,465 ลานบาท และมีการจางงานรวม 16,258 คน โดยภาวะการ ลงทุนในเดือนธันวาคม 2553 มีโครงการที่ไดรับการอนุมัติ จํานวน 4 โครงการ เงินลงทุนมูลคา 460 ลานบาท และมี การจางงานเพิ่มขึ้นจํานวน 316 คน  จํานวนผูประกอบธุรกิจที่ไดรับอนุญาตและเริ่ม กิจการในเดือนมกราคม 2554 มีจํานวน 10 โรงงาน ใชเงิน ลงทุนมูลคา 1,875 ลานบาท และมีการจางงานเพิ่ม 269 คน สวนผูประกอบธุรกิจที่ขอเลิกกิจการมีจํานวน 9 โรงงาน เงินลงทุนที่ใชไปมีมูลคา 33 ลานบาท และเลิกจางงาน จํานวน 55 คน โดยรอยละ 32.73 เลิกจางงานในเขตจังหวัด พัทลุง     ภาวะการผลิตโดยรวมของอุตสาหกรรมในเดือน ธันวาคม 2553 ขยายตัวเพิ่มขึ้น อัตราการใชกําลังการผลิต อยูที่ระดับ 61.70 ปรับเพิ่มขึ้นจากเดือนกอนรอยละ 9.88 ตามกลุมสินคาเกษตรและแปรรูป สวนดัชนีผลผลิต อุตสาหกรรมอยูที่ระดับ 163.23 ปรับเพิ่มขึ้นจากเดือนกอน รอยละ 16.60 ตามการสงออกที่เพิ่มขึ้นในกลุมสินคา ดังกลาวจากความตองการที่มีเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง 

 

มูลคาการนําเขาสินคาเกษตรและอาหารในชวง เดือนมกราคม – ธันวาคม 2553 มีมูลคารวม 266,276 ลาน บาท ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 12.42 โดยในเดือน ธ.ค. 53 มี มูลคานําเขารวม 26,432 ลานบาท ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 11.99 เนื่องดวยผูผลิตไดนําเขาวัตถุดิบเพื่อแปรรูปเพิ่มขึ้น ตามคําสั่งซื้อที่เพิ่มขึ้น สินคานําเขาที่สําคัญ ไดแก ขาวสาลี, กากน้ํามัน(ออยลเคก) และนมและครีมที่ทาํใหเขมขน  มูลคาการสงออกสินคาเกษตรและอาหารในชวง เดือนมกราคม – ธันวาคม 2553 มีมูลคารวม 802,653 ลาน บาท ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 6.42 โดยในเดือน ธ.ค. 53 มีมูลคา สงออกรวม 69,973 ลานบาท ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 2.16 จาก คําสั่งซื้อที่เพิ่มขึ้นตอเนื่อง ทําใหมูลคาการสงออกปรับ เพิ่มขึ้นในกลุมสินคาที่สําคัญ ไดแก ขาวเจาขาว 100% ชั้น 2, น้ําตาลทรายดิบ และขาวเจาขาว 5% คําสั่งซื้อที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องทั้งภายในประเทศ และตางประเทศ ไดสงผลดีกับผูผลิตและผูสงออกของไทย ในชวงที่ผานมา แตดวยราคาวัตถุดิบทั่วโลกที่ปรับตัวสูงขึ้น นั้น คงจะหลีกเลี่ยงไมไดที่จะตองนําเขามาเพื่อแปรรูปให ทันกับความตองการที่มี รวมทั้งการควบคุมสภาวะเงินเฟอ ของภาครัฐที่มีตอระดับราคาสินคาที่ปรับเพิ่มสูงขึ้นเชนกัน ทําใหผูผลิตและผูสงออกจะตองติดตามราคาอยางใกลชิด 

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ติดต่อสอบถามข้อมูล ต่อ 3122 ติดต่อสมาชิกสถาบันอาหาร ต่อ 8101