สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนพฤษภาคม 2554

พฤษภาคม 2554

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

สรุปการค้าอาหารเดือนมกราคม - มีนาคม 2554

บทสรุป

ภาวะการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหาร ช่วงเดือน มกราคม – มีนาคม 2554 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการ สงเสริม จํานวนทั้งสิ้น 34 โครงการ เงินลงทุนรวม 18,991 ลานบาท และมีการจางงานรวม 8,377 คน เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน จํานวนโครงการขยายตัวเพิ่มขึ้น 10 โครงการ มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้น 13,306 ลานบาท และปริมาณการจางงานปรับเพิ่มข้ึน 4,815 คน  จํานวนผูประกอบธุรกิจที่ไดรับอนุญาตและเริ่ม กิจการในเดือนเมษายน 2554 มีจํานวน 7 โรงงาน ใชเงิน ลงทุนมูลคารวม 109 ลานบาท และมีการจางงานเพิ่ม 131 คน สวนผูประกอบธุรกิจขอเลิกกิจการมีจํานวน 3 โรงงาน เงินลงทุนที่ใชไปมีมูลคารวม 7 ลานบาท และเลิกจางงาน จํานวน 14 คน โดยรอยละ 57.14 เลิกจางงานในเขตจังหวัด กรุงเทพ     ภาวะการผลิตโดยรวมของอุตสาหกรรมในเดือน มีนาคม 2554 ปรับตัวลดลง จากปริมาณวัตถุดิบปรับลดลง ตอเนื่อง ทําใหผูผลิตตองนําสินคาที่สต็อกไวออกสูตลาด เพิ่มมากขึ้น ใหเพียงพอกับความตองการในตลาดที่มี สงผลใหปริมาณสินคาคงคลังมีการปรับลดลง ขณะที่ดัชนี การสงสินคาไดปรับลดลงเล็กน้อย

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

สรุปการค้าอาหารเดือนมกราคม - มีนาคม 2554

บทสรุป

ภาวะการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหาร ช่วงเดือน มกราคม – มีนาคม 2554 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการ สงเสริม จํานวนทั้งสิ้น 34 โครงการ เงินลงทุนรวม 18,991 ลานบาท และมีการจางงานรวม 8,377 คน เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน จํานวนโครงการขยายตัวเพิ่มขึ้น 10 โครงการ มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้น 13,306 ลานบาท และปริมาณการจางงานปรับเพิ่มข้ึน 4,815 คน  จํานวนผูประกอบธุรกิจที่ไดรับอนุญาตและเริ่ม กิจการในเดือนเมษายน 2554 มีจํานวน 7 โรงงาน ใชเงิน ลงทุนมูลคารวม 109 ลานบาท และมีการจางงานเพิ่ม 131 คน สวนผูประกอบธุรกิจขอเลิกกิจการมีจํานวน 3 โรงงาน เงินลงทุนที่ใชไปมีมูลคารวม 7 ลานบาท และเลิกจางงาน จํานวน 14 คน โดยรอยละ 57.14 เลิกจางงานในเขตจังหวัด กรุงเทพ     ภาวะการผลิตโดยรวมของอุตสาหกรรมในเดือน มีนาคม 2554 ปรับตัวลดลง จากปริมาณวัตถุดิบปรับลดลง ตอเนื่อง ทําใหผูผลิตตองนําสินคาที่สต็อกไวออกสูตลาด เพิ่มมากขึ้น ใหเพียงพอกับความตองการในตลาดที่มี สงผลใหปริมาณสินคาคงคลังมีการปรับลดลง ขณะที่ดัชนี การสงสินคาไดปรับลดลงเล็กน้อย

 

มูลคาการนําเขาสินคาเกษตรและอาหารในชวง เดือนมกราคม – มีนาคม 2554 มีมูลคารวม 78,665 ลาน บาท ปริมาณนําเขารวม 3.13 ลานตัน ทั้งมูลคาและปริมาณ ปรับเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 32.29 และ 27.97 จากราคาวัตถุดิบที่ปรับเพิ่มสูงขึ้น แตความตองการ ของตลาดยังคงมีอยางตอเนื่อง ซึ่งไดแก ปลาสคิปแจ็คทูนา ถั่วเหลือง และน้ํามันปาลมดิบ  มูลคาการสงออกสินคาเกษตรและอาหารในชวง เดือนมกราคม – มีนาคม 2554 มีมูลคารวม 222,528 ลาน บาท ปริมาณสงออกรวม 8.37 ลานตัน มูลคาปรับเพิ่มขึ้น รอยละ 8.52 แตปริมาณปรับลดลงรอยละ 1.82 จากชวง เดียวกันของปกอน ดวยคําสั่งซื้อที่เพิ่มมากขึ้น จากสภาพ อากาศที่แปรปรวน ทําใหสินคาที่สําคัญปรับเพิ่มขึ้น ไดแก น้ําตาลทรายดิบ ไกแปรรูป และกุงขาวแปรรูป ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นทั้งน้ําทวมและความแหงแลง ในเขตพื้นที่ทางการเกษตรที่สําคัญของโลก ทําใหผลผลิตที่ ไดเกิดความเสียหายและมีปริมาณลดลง เชน ขาวสาลี ขาวโพด และถั่วเหลือง และมีระดับราคาสูงขึ้น ซึ่งอาจมี แนวโนมสูงขึ้นตอเนื่อง หากพื้นที่ดังกลาวยังคงไดรับ ผลกระทบจากภัยธรรมชาติอยูตอไป   

 

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ติดต่อสอบถามข้อมูล ต่อ 3122 ติดต่อสมาชิกสถาบันอาหาร ต่อ 8101