สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนมิถุนายน 2554

มิถุนายน 2554

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

สรุปการค้าอาหารเดือนมกราคม – เมษายน  2554

 

ภาวะการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหาร ชวงเดือน มกราคม – เมษายน 2554 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการ สงเสริม จํานวนทั้งสิ้น 40 โครงการ เงินลงทุนรวม 22,571 ลานบาท และมีการจางงานรวม 11,123 คน เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน จํานวนโครงการขยายตัวเพิ่มขึ้น 10 โครงการ มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้น 14,677 ลานบาท และปริมาณการจางงานปรับเพิ่มข้ึน 4,933 คน  จํานวนผูประกอบธุรกิจที่ไดรับอนุญาตและเริ่ม กิจการในเดือนพฤษภาคม 2554 มีจํานวน 4 โรงงาน ใชเงิน ลงทุนมูลคารวม 84 ลานบาท และมีการจางงานเพิ่ม 50 คน สวนผูประกอบธุรกิจขอเลิกกิจการมีจํานวน 3 โรงงาน เงิน ลงทุนที่ใชไปมีมูลคารวม 8 ลานบาท และเลิกจางงาน จํานวน 12 คน โดยรอยละ 41.67 เลิกจางงานในเขตจังหวัด ฉะเชิงเทรา     ภาวะการผลิตโดยรวมของอุตสาหกรรมในเดือน เมษายน 2554 ปรับตัวลดลง จากสภาพอากาศท่ียังคง สงผลกระทบตอปริมาณวัตถุดิบใหลดลงตอเนื่อง ระดับ ราคาสินคาปรับเพิ่มสูงขึ้นในตลาด ประชาชนลดการ บริโภค ทําใหดัชนีการสงสินค่าปรับลดลงเล็กน้อย ขณะที่ สินค้าคงคลังในสินค้าบางประเภทปรับเพิ่มเล็กน้อย

 

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

สรุปการค้าอาหารเดือนมกราคม – เมษายน  2554

 

ภาวะการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหาร ชวงเดือน มกราคม – เมษายน 2554 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการ สงเสริม จํานวนทั้งสิ้น 40 โครงการ เงินลงทุนรวม 22,571 ลานบาท และมีการจางงานรวม 11,123 คน เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน จํานวนโครงการขยายตัวเพิ่มขึ้น 10 โครงการ มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้น 14,677 ลานบาท และปริมาณการจางงานปรับเพิ่มข้ึน 4,933 คน  จํานวนผูประกอบธุรกิจที่ไดรับอนุญาตและเริ่ม กิจการในเดือนพฤษภาคม 2554 มีจํานวน 4 โรงงาน ใชเงิน ลงทุนมูลคารวม 84 ลานบาท และมีการจางงานเพิ่ม 50 คน สวนผูประกอบธุรกิจขอเลิกกิจการมีจํานวน 3 โรงงาน เงิน ลงทุนที่ใชไปมีมูลคารวม 8 ลานบาท และเลิกจางงาน จํานวน 12 คน โดยรอยละ 41.67 เลิกจางงานในเขตจังหวัด ฉะเชิงเทรา     ภาวะการผลิตโดยรวมของอุตสาหกรรมในเดือน เมษายน 2554 ปรับตัวลดลง จากสภาพอากาศท่ียังคง สงผลกระทบตอปริมาณวัตถุดิบใหลดลงตอเนื่อง ระดับ ราคาสินคาปรับเพิ่มสูงขึ้นในตลาด ประชาชนลดการ บริโภค ทําใหดัชนีการสงสินค่าปรับลดลงเล็กน้อย ขณะที่ สินค้าคงคลังในสินค้าบางประเภทปรับเพิ่มเล็กน้อย

 

มูลคาการนําเขาสินคาเกษตรและอาหารในชวง เดือนมกราคม – เมษายน 2554 มีมูลคารวม 101,954 ลาน บาท ปริมาณนําเขารวม 3.94 ลานตัน ทั้งมูลคาและปริมาณ ปรับเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 28.22 และ 20.05 จากปริมาณวัตถุดิบที่เพิ่มมากขึ้น ทําใหผูผลิตนําเขา วัตถุดิบเพิ่มมากขึ้น ไดแก ปลาสคิปแจ็คทูนา ขาวสาลี ถั่ว เหลือง และนมผงมีไขมัน  มูลคาการสงออกสินคาเกษตรและอาหารในชวง เดือนมกราคม – เมษายน 2554 มีมูลคารวม 293,690 ลาน บาท ปริมาณสงออกรวม 10.87 ลานตัน มูลคาปรับเพิ่มขึ้น รอยละ 9.41 แตปริมาณปรับลดลงรอยละ 1.03 จากชวง เดียวกันของปกอน จากคําสั่งซื้อในกลุมประเทศที่มีความ ตองการเพิ่มขึ้น ทําใหสินคาที่สําคัญปรับเพิ่มขึ้น ไดแก ขาว เจาขาวอื่น 5% ขาวนึ่ง ไกแปรรูป และทูนากระปอง ผลกระทบจากภัยธรรมชาติในชวงที่ผานมา ทําให ประเทศผูผลิตทั้งรายใหญและรายเล็กๆ เริ่มตระหนักถึง ความสําคัญของวัตถุดิบทางเกษตรกรรม มีการปรับเพิ่ม พื้นที่ในการเพาะปลูกเพื่อเพิ่มผลผลิตเพื่อใหเกิดความ มั่นคงทางอาหารภายในประเทศ พรอมรับปริมาณฝนที่ตก หนักหรือความแหงแลงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต  

 

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ติดต่อสอบถามข้อมูล ต่อ 3122 ติดต่อสมาชิกสถาบันอาหาร ต่อ 8101