สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนพฤศจิกายน 2554

พฤศจิกายน 2554

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

สรุปการคาอาหารเดือนมกราคม – กันยายน 2554

 

บทสรุป

          ภาวะการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหาร ชวงเดือน มกราคม – กันยายน 2554 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการ สงเสริม จํานวนทั้งสิ้น 84 โครงการ เงินลงทุนรวม 29,114 ลานบาท และมีการจางงานรวม 16,079 คน เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน จํานวนโครงการลดลง 14 โครงการ แตมูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้น 7,567 ลานบาท ขณะท่ี ปริมาณการจางงานปรับลดลง 62 คน  จํานวนผูประกอบธุรกิจที่ไดรับอนุญาตและเริ่ม กิจการในเดือนตุลาคม 2554 มีจํานวน 6 โรงงาน ใชเงิน ลงทุนมูลคารวม 341 ลานบาท และมีการจางงานเพิ่ม 136 คน สวนผูประกอบธุรกิจขอเลิกกิจการมีจํานวน 7 โรงงาน เงินลงทุนที่ใชไปมีมูลคารวม 150 ลานบาท และเลิกจาง งานจํานวน 125 คน โดยรอยละ 44.00 เลิกจางงานในเขต จังหวัดนครราชสีมา     ภาวะการผลิตโดยรวมของอุตสาหกรรมในเดือน กันยายน 2554 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามความตองการบริโภค ในตลาดที่เพิ่มขึ้นตอเนื่อง อีกทั้งปริมาณวัตถุดิบที่เขาสู ตลาดตามฤดูกาล ทําใหผูผลิตตองเพิ่มกําลังการผลิตเพื่อ ตอบสนองความตองการของตลาดที่มี ไดสงผลใหดัชนี การสงสินคาปรับเพิ่มขึ้น ขณะที่สินคาคงคลังปรับลดลง

 

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

สรุปการคาอาหารเดือนมกราคม – กันยายน 2554

 

บทสรุป

          ภาวะการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหาร ชวงเดือน มกราคม – กันยายน 2554 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการ สงเสริม จํานวนทั้งสิ้น 84 โครงการ เงินลงทุนรวม 29,114 ลานบาท และมีการจางงานรวม 16,079 คน เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน จํานวนโครงการลดลง 14 โครงการ แตมูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้น 7,567 ลานบาท ขณะท่ี ปริมาณการจางงานปรับลดลง 62 คน  จํานวนผูประกอบธุรกิจที่ไดรับอนุญาตและเริ่ม กิจการในเดือนตุลาคม 2554 มีจํานวน 6 โรงงาน ใชเงิน ลงทุนมูลคารวม 341 ลานบาท และมีการจางงานเพิ่ม 136 คน สวนผูประกอบธุรกิจขอเลิกกิจการมีจํานวน 7 โรงงาน เงินลงทุนที่ใชไปมีมูลคารวม 150 ลานบาท และเลิกจาง งานจํานวน 125 คน โดยรอยละ 44.00 เลิกจางงานในเขต จังหวัดนครราชสีมา     ภาวะการผลิตโดยรวมของอุตสาหกรรมในเดือน กันยายน 2554 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามความตองการบริโภค ในตลาดที่เพิ่มขึ้นตอเนื่อง อีกทั้งปริมาณวัตถุดิบที่เขาสู ตลาดตามฤดูกาล ทําใหผูผลิตตองเพิ่มกําลังการผลิตเพื่อ ตอบสนองความตองการของตลาดที่มี ไดสงผลใหดัชนี การสงสินคาปรับเพิ่มขึ้น ขณะที่สินคาคงคลังปรับลดลง

 

          มูลคาการนําเขาสินคาเกษตรและอาหารในชวง เดือนมกราคม – กันยายน 2554 มีมูลคารวม 237,939 ลาน บาท ปริมาณนําเขารวม 8.85 ลานตัน ทั้งมูลคาและปริมาณ ปรับเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 23.24 และ 6.66 จากคําสั่งซื้อที่มีตอเนื่อง ทําใหผูผลิตตองนําเขา วัตถุดิบเพิ่มมากขึ้น ไดแก ถั่วเหลือง ปลาสคิปแจ็ก สารให คุณคาทางโภชนาการ และนม/ครีมที่ทําใหเขมขน  มูลคาการสงออกสินคาเกษตรและอาหารในชวง เดือนมกราคม – กันยายน 2554 มีมูลคารวม 733,253 ลาน บาท ปริมาณสงออกรวม 26.24 ลานตัน ทั้งมูลคาและ ปริมาณปรับเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 22.01 และ 18.70 จากความตองการบริโภคที่มีตอเนื่อง ทํา ใหสินคาสงออกปรับเพิ่มขึ้น ไดแก ขาวเจาขาวอื่น 5% น้ําตาลทรายดิบ ขาวเจาขาวอื่น100%ชั้น2 และขาวนึ่ง ความเสียหายหลังน้ําทวมท่ีเกิดขึ้นกับผูผลิตสินคา รวมถึงประชาชน โรงงานอุตสาหกรรมอาหารที่ตั้งอยูใน พื้นที่ภาคกลางสวนใหญไดรับผลกระทบ ทําใหมีการหยุด ผลิตอยางนอย 1-6 เดือน ซึ่งจะสะทอนในอัตราการใชกําลัง การผลิตของเดือน ต.ค. - ธ.ค. อยางไรก็ตามคาดวาจะไม กระทบกับมูลคาการสงออกชวงปลายปมากนัก

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ติดต่อสอบถามข้อมูล ต่อ 3122 ติดต่อสมาชิกสถาบันอาหาร ต่อ 8101