มีนาคม 2555
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
มีนาคม 2555
จำนวนโรงงาน ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนกุมภาพันธ 2555 มีจํานวน 14 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง 6 โรงงาน รองลงมาคือภาค อีสาน 5 โรงงาน สวนภาคเหนือ ใต และตะวันออก มีภาคละ 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการผลิตแบงออกเปน การผลิตและแปรรูปพืชผลทาง การเกษตร 6 โรงงาน ผลิตหมูแชแข็งและผลิตน้ําแข็ง/น้ําดื่ม 2 โรงงาน ผลิตเครื่องดื่มชนิดผงสําเร็จรูป ผลิตอาหารสําเร็จรูป ผลิตอาหารสัตว และผลิตน้ําตาลทราย มีอยางละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่ม ประกอบกิจการใหมทั้งหมด มีมูลคาเงินลงทุนรวม 3,033 ลานบาท โดย สัดสวนรอยละ 42.86 อยูในบริเวณภาคกลาง มีผลทําใหเกิดการจางงาน เพิ่มขึ้นจํานวน 445 คน สําหรับจํานวนโรงงานที่เลิกประกอบกิจการ ใน เดือนกุมภาพันธ 2555 มีจํานวน 12 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง 5 โรงงาน รองลงมาคือภาคตะวันตก 2 โรงงาน สวนภาคอีสานและ ตะวันออก มีภาคละ 2 โรงงานมูลคาเงินลงทุนรวม 356 ลานบาท โดย สัดสวนรอยละ 41.67 อยูในบริเวณภาคกลาง เกิดการเลิกจางงาน เพิ่มขึ้นจํานวน 252 คน มากที่สุดอยูในจังหวัดปทุมธานี มีจํานวน 175 คน ของภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคม 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 9 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 1,241 ลานบาท มีการจางงานจํานวน 742 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวาโครงการไดรับอนุมัติมี จํานวนไมเปลี่ยนแปลง แตมีมูลคาเงินลงทุนรวมลดลง 15 ลานบาท และ มีการจางงานลดลง 66 คน โดยรวมเงินลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณภาค อีสาน มีมูลคารวม 783 ลานบาท (สัดสวน 63.09% ของเงินลงทุน ทั้งหมด) และมีมากสุดอยูที่จังหวัดขอนแกน ผลิตแปงมันสําปะหลัง รองลงมาคือชัยภูมิ ผลิตแปงมันสําปะหลัง และฉะเชิงเทรา ผลิตไขไก และไกรุน สวนการจางงานมากสุดอยูที่จังหวัดสงขลา มีจํานวน 188 คน (สัดสวน 25.34% ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือ ชัยภูมิ มี จํานวน 160 คน (21.56%) และลพบุรี มีจํานวน 155 คน (20.89%) ดวยจํานวนโครงการที่มีการลงทุนในเดือนมกราคม พบวาภาค อีสานเปนบริเวณที่มีเงินลงทุนมากสุด โดยเปนการผลิตและแปรรูป พืชผลทางการเกษตรทั้งหมด ซึ่งไดแก ขาว และมัน
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
มีนาคม 2555
จำนวนโรงงาน ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนกุมภาพันธ 2555 มีจํานวน 14 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง 6 โรงงาน รองลงมาคือภาค อีสาน 5 โรงงาน สวนภาคเหนือ ใต และตะวันออก มีภาคละ 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการผลิตแบงออกเปน การผลิตและแปรรูปพืชผลทาง การเกษตร 6 โรงงาน ผลิตหมูแชแข็งและผลิตน้ําแข็ง/น้ําดื่ม 2 โรงงาน ผลิตเครื่องดื่มชนิดผงสําเร็จรูป ผลิตอาหารสําเร็จรูป ผลิตอาหารสัตว และผลิตน้ําตาลทราย มีอยางละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่ม ประกอบกิจการใหมทั้งหมด มีมูลคาเงินลงทุนรวม 3,033 ลานบาท โดย สัดสวนรอยละ 42.86 อยูในบริเวณภาคกลาง มีผลทําใหเกิดการจางงาน เพิ่มขึ้นจํานวน 445 คน สําหรับจํานวนโรงงานที่เลิกประกอบกิจการ ใน เดือนกุมภาพันธ 2555 มีจํานวน 12 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง 5 โรงงาน รองลงมาคือภาคตะวันตก 2 โรงงาน สวนภาคอีสานและ ตะวันออก มีภาคละ 2 โรงงานมูลคาเงินลงทุนรวม 356 ลานบาท โดย สัดสวนรอยละ 41.67 อยูในบริเวณภาคกลาง เกิดการเลิกจางงาน เพิ่มขึ้นจํานวน 252 คน มากที่สุดอยูในจังหวัดปทุมธานี มีจํานวน 175 คน ของภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคม 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 9 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 1,241 ลานบาท มีการจางงานจํานวน 742 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวาโครงการไดรับอนุมัติมี จํานวนไมเปลี่ยนแปลง แตมีมูลคาเงินลงทุนรวมลดลง 15 ลานบาท และ มีการจางงานลดลง 66 คน โดยรวมเงินลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณภาค อีสาน มีมูลคารวม 783 ลานบาท (สัดสวน 63.09% ของเงินลงทุน ทั้งหมด) และมีมากสุดอยูที่จังหวัดขอนแกน ผลิตแปงมันสําปะหลัง รองลงมาคือชัยภูมิ ผลิตแปงมันสําปะหลัง และฉะเชิงเทรา ผลิตไขไก และไกรุน สวนการจางงานมากสุดอยูที่จังหวัดสงขลา มีจํานวน 188 คน (สัดสวน 25.34% ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือ ชัยภูมิ มี จํานวน 160 คน (21.56%) และลพบุรี มีจํานวน 155 คน (20.89%) ดวยจํานวนโครงการที่มีการลงทุนในเดือนมกราคม พบวาภาค อีสานเปนบริเวณที่มีเงินลงทุนมากสุด โดยเปนการผลิตและแปรรูป พืชผลทางการเกษตรทั้งหมด ซึ่งไดแก ขาว และมัน
ภาพรวมภาวะการผลิต
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ในเดือนมกราคม 2554 ปรับตัวเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับชวง เดียวกันของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 58.57 ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 2.87 อัตราการใชกําลังการผลิตปรับ เพิ่มขึ้นในกลุมสินคาที่สําคัญ ไดแก น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ (ปรับ เพิ่มขึ้นรอยละ 119.14) ผงชูรส (27.46) อาหารกุงสําเร็จรูป (18.85) น้ําตาลทรายดิบ (18.39) อาหารไกสําเร็จรูป (17.85) แปงมันสําปะหลัง (17.04) และอาหารสุกรสําเร็จรูป (15.14) ตามลําดับ สําหรับสินคาที่มีอัตราการใชกําลังการผลิตปรับลดลง ไดแก น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ (ลดลงรอยละ 55.05) กุงแชแข็ง (27.31) น้ําตาลทรายขาว (26.95) ปลาทูนากระปอง (5.44) สับปะรดกระปอง (3.41) และเนื้อไกแชแข็ง/แชเย็น (0.10) ตามลําดับ ดวยกําลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นในกลุมสินคาดังกลาว สงผลทําใหดัชนีผลผลิต (ถวงน้ําหนักมูลคาเพิ่ม) อุตสาหกรรม อยูที่ระดับ 169.19 เพิ่มขึ้นรอยละ 3.90 จากชวงเดียวกันของป กอน และจากผลผลิตโดยรวมในกลุมสินคาที่ปรับเพิ่มขึ้น สะทอนภาพความตองการของตลาดที่ปรับเพิ่มขึ้นเล็กนอย (น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ อาหารสัตว น้ําตาลทราย และแปงมัน สําปะหลัง) โดยดัชนีการสงสินคาปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 0.84 อยูที่ ระดับ 137.44 ขณะที่ดัชนีสินคาสําเร็จรูปคงคลังปรับเพิ่มขึ้น รอยละ 15.90 จากชวงเดียวกันของปกอน โดยอยูที่ระดับ 234.81 จากอัตราการใชกําลังการผลิตที่เพิ่มข้ึนรวมทั้งปริมาณ สินคาคงคลังที่มีสะสมกอนหนา สงผลใหสินคาในกลุมที่สําคัญ ปรับเพิ่มขึ้น ไดแก สับปะรดกระปอง (เพิ่มขึ้นรอยละ 253.63) น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ (147.74) น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ (133.76) เนื้อไกแชแข็งและแชเย็น (68.66) น้ําตาลทรายดิบ (44.34) อาหารกุงสําเร็จรูป (20.17) แปงมันสําปะหลัง (19.50) อาหาร ไกสําเร็จรูป (17.31) และน้ําตาลทรายขาว (12.39) จากปริมาณ สินคาคงคลังที่เพิ่มสูงขึ้น ไดสะทอนภาพวัตถุดิบที่มีเพิ่มมากขึ้น ในปจจุบัน และภาคการผลิตกลับสูภาวะปกติเชนเดิม
download PDF ย้อนกลับ