สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนเมษายน 2555

เมษายน 2555

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

เมษายน 2555

 

จำนวนโรงงาน ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนมีนาคม 2555 มี จํานวน 26 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง 14 โรงงาน รองลงมาคือภาค อีสาน 4 โรงงาน และภาคเหนือ 3 โรงงาน สวนภาคใต และตะวันออก มี ภาคละ 2 โรงงาน ขณะที่ภาคตะวันตกมี 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการ ผลิตแบงออกเปน การผลิตและแปรรูปพืชผลทางการเกษตร 12 โรงงาน ผลิตเนื้อสัตวแปรรูป 2 โรงงาน ผลิตเครื่องปรุงรส และผลิตน้ําแข็ง/น้ํา ดื่ม มีอยางละ 2 โรงงาน สวนการผลิตขนมปง ผลิตเสนกวยเตี๋ยว/บะหมี่ ผลิตอาหารสัตว ผลิตน้ําตาลกอน ผลิตน้ําผลไม และผลิตน้ํานมสด มี อยางละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการใหมทั้งหมด มีมูลคาเงินลงทุนรวม 686 ลานบาท โดยสัดสวนรอยละ 77.18 อยูใน บริเวณภาคกลาง มีผลทําใหเกิดการจางงานเพิ่มข้ึนจํานวน 497 คน สําหรับจํานวนโรงงานที่เลิกประกอบกิจการ ในเดือนมีนาคม 2555 มี จํานวน 12 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง และเหนือมีภาคละ 5 โรงงาน รองลงมาคือภาคอีสาน 2 โรงงาน สวนภาคตะวันตก และใต มีภาคละ 2 โรงงาน มูลคาเงินลงทุนรวม 178 ลานบาท โดยสัดสวนรอยละ 40.82 อยูในบริเวณภาคกลาง และมีการเลิกจางงานเพิ่มขึ้นจํานวน 230 คน     ภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนกุมภาพันธ 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 13 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 2,717 ลานบาท มีการจางงานจํานวน 1,378 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวาโครงการไดรับอนุมัติ มีจํานวนลดลง 7 โครงการ มีมูลคาเงินลงทุนรวมลดลง 83 ลานบาท และมีการจางงานลดลง 65 คนโดยรวมเงินลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณ ภาคเหนือ มีมูลคารวม 1,200 ลานบาท (สัดสวน 44.17% ของเงินลงทุน ทั้งหมด) และมีมากสุดอยูที่จังหวัดลําพูน ผลิตเนื้อสัตวแปรรูป รองลงมา คือกรุงเทพฯ ผลิตอาหารพรอมรับประทาน และปราจีนบุรี ผลิตขนมขบ เคี้ยว สวนการจางงานมากสุดอยูที่จังหวัดกาญจนบุรี มีจํานวน 330 คน (สัดสวน 23.95% ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือชลบุรี มี จํานวน 287 คน (20.83%) และลําพูน มีจํานวน 244 คน (17.71%) ดวยจํานวนโครงการทั้งหมดท่ีมีการลงทุนในเดือนกุมภาพันธ พบ การผลิตและแปรรูปพืชผลทางการเกษตรมีถึง 5 โครงการซึ่งเปน การผลิตและแปรรูปในกลุมสินคาขาวทั้งหมด

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

เมษายน 2555

 

จำนวนโรงงาน ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนมีนาคม 2555 มี จํานวน 26 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง 14 โรงงาน รองลงมาคือภาค อีสาน 4 โรงงาน และภาคเหนือ 3 โรงงาน สวนภาคใต และตะวันออก มี ภาคละ 2 โรงงาน ขณะที่ภาคตะวันตกมี 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการ ผลิตแบงออกเปน การผลิตและแปรรูปพืชผลทางการเกษตร 12 โรงงาน ผลิตเนื้อสัตวแปรรูป 2 โรงงาน ผลิตเครื่องปรุงรส และผลิตน้ําแข็ง/น้ํา ดื่ม มีอยางละ 2 โรงงาน สวนการผลิตขนมปง ผลิตเสนกวยเตี๋ยว/บะหมี่ ผลิตอาหารสัตว ผลิตน้ําตาลกอน ผลิตน้ําผลไม และผลิตน้ํานมสด มี อยางละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการใหมทั้งหมด มีมูลคาเงินลงทุนรวม 686 ลานบาท โดยสัดสวนรอยละ 77.18 อยูใน บริเวณภาคกลาง มีผลทําใหเกิดการจางงานเพิ่มข้ึนจํานวน 497 คน สําหรับจํานวนโรงงานที่เลิกประกอบกิจการ ในเดือนมีนาคม 2555 มี จํานวน 12 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง และเหนือมีภาคละ 5 โรงงาน รองลงมาคือภาคอีสาน 2 โรงงาน สวนภาคตะวันตก และใต มีภาคละ 2 โรงงาน มูลคาเงินลงทุนรวม 178 ลานบาท โดยสัดสวนรอยละ 40.82 อยูในบริเวณภาคกลาง และมีการเลิกจางงานเพิ่มขึ้นจํานวน 230 คน     ภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนกุมภาพันธ 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 13 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 2,717 ลานบาท มีการจางงานจํานวน 1,378 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวาโครงการไดรับอนุมัติ มีจํานวนลดลง 7 โครงการ มีมูลคาเงินลงทุนรวมลดลง 83 ลานบาท และมีการจางงานลดลง 65 คนโดยรวมเงินลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณ ภาคเหนือ มีมูลคารวม 1,200 ลานบาท (สัดสวน 44.17% ของเงินลงทุน ทั้งหมด) และมีมากสุดอยูที่จังหวัดลําพูน ผลิตเนื้อสัตวแปรรูป รองลงมา คือกรุงเทพฯ ผลิตอาหารพรอมรับประทาน และปราจีนบุรี ผลิตขนมขบ เคี้ยว สวนการจางงานมากสุดอยูที่จังหวัดกาญจนบุรี มีจํานวน 330 คน (สัดสวน 23.95% ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือชลบุรี มี จํานวน 287 คน (20.83%) และลําพูน มีจํานวน 244 คน (17.71%) ดวยจํานวนโครงการทั้งหมดท่ีมีการลงทุนในเดือนกุมภาพันธ พบ การผลิตและแปรรูปพืชผลทางการเกษตรมีถึง 5 โครงการซึ่งเปน การผลิตและแปรรูปในกลุมสินคาขาวทั้งหมด

 

ภาพรวมภาวะการผลิต

           อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ในเดือนกุมภาพันธ 2554 ปรับตัวเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับชวง เดียวกันของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 59.05 ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 14.12 ในกลุมสินคาที่มีอัตราการใช กําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้นที่สําคัญ ไดแก อาหารปลาสําเร็จรูป (ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 68.36) อาหารไกสําเร็จรูป (32.77) แปงมัน สําปะหลัง (30.70) อาหารกุงสําเร็จรูป (26.00) อาหารสุกร สําเร็จรูป (22.39) น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ (21.97) เนื้อไกแชแข็ง และแชเย็น (19.96) ผงชูรส (19.43) และสับปะรดกระปอง (13.06) ตามลําดับ สําหรับสินคาที่มีอัตราการใชกําลังการผลิต ปรับลดลง ไดแก น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ (ลดลงรอยละ 53.73) นมพรอมดื่ม (24.45) ปลาทูนากระปอง (3.97) และกุงแชแข็ง (1.99) ตามลําดับ ดวยกําลังการผลิตที่เพิ่มข้ึนในกลุมสินคา ดังกลาว สงผลทําใหดัชนีผลผลิต (ถวงน้ําหนักมูลคาเพิ่ม) อุตสาหกรรมอยูที่ระดับ 170.80 เพิ่มขึ้นรอยละ 14.94 จากชวง เดียวกันของปกอน และจากผลผลิตโดยรวมในกลุมสินคาที่ปรับ เพิ่มขึ้น สะทอนภาพความตองการของตลาดที่ปรับเพิ่มขึ้นใน กลุมสินคาอาหารสัตว น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ แปงมันสําปะหลัง เนื้อไกแชแข็งและแชเย็น สับปะรดกระปอง และน้ําตาลทราย โดยดัชนีการสงสินคาปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 15.73 อยูที่ระดับ 149.88 ขณะที่ดัชนีสินคาสําเร็จรูปคงคลังปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 14.55 จากชวงเดียวกันของปกอน โดยอยูที่ระดับ 224.69จาก อัตราการใชกําลังการผลิตที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งปริมาณสินคาคงคลัง ที่มีสะสมกอนหนา สงผลใหสินคาในกลุมที่สําคัญปรับเพิ่มขึ้น ไดแก สับปะรดกระปอง (เพิ่มขึ้นรอยละ 235.50) น้ําผลไม (181.91) น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ (80.70) เนื้อไกแชแข็งและแชเย็น (70.13) อาหารปลาสําเร็จรูป (47.48) นมพรอมดื่ม (45.78) น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ (43.48) แปงมันสําปะหลัง (39.71) และ น้ําตาลทรายดิบ (23.77) ดวยปริมาณวัตถุดิบที่มีเพิ่มขึ้น อีกทั้ง ความตองการที่มีในตลาด สงผลใหสินคาคงคลังปรับเพิ่มสูงขึ้น

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ติดต่อสอบถามข้อมูล ต่อ 3122 ติดต่อสมาชิกสถาบันอาหาร ต่อ 8101