พฤษภาคม 2555
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
พฤษภาคม 2555
จำนวนโรงงาน ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนเมษายน 2555 มี จํานวน 16 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง 9 โรงงาน รองลงมาคือภาค อีสาน 4 โรงงาน และภาคตะวันออก 2 โรงงาน สวนภาคใต มี 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการผลิตแบงออกเปนการผลิตและแปรรูปพืชผลทาง การเกษตร 10 โรงงาน ผลิตเนื้อสัตวแชแข็ง 2 โรงงาน ผลิตเนื้อสัตว แปรรูป ผลิตแปงกึ่งสําเร็จรูปจากธัญพืช ผลิตขนมปนสิบ และผลิต น้ําแข็ง/น้ําดื่ม มีอยางละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่มประกอบ กิจการใหมทั้งหมด มีมูลคาเงินลงทุนรวม 148 ลานบาท โดยสัดสวน รอยละ 49.08 อยูในบริเวณภาคกลาง มีผลทําใหเกิดการจางงานเพิ่มขึ้น จํานวน 172 คน โดยอยูในบริเวณภาคตะวันออกมากสุด มีจํานวน 86 คน คิดเปนรอยละ 50.00 ของการจางงานใหมทั้งหมด สําหรับจํานวน โรงงานที่เลิกประกอบกิจการในเดือนเมษายน 2555 มีจํานวน 9 โรงงาน อยูบริเวณภาคอีสาน 7 โรงงาน รองลงมาคือภาคตะวันออกและตะวันตก มีภาคละ 1 โรงงาน มูลคาเงินลงทุนรวม 19 ลานบาท โดยสัดสวนรอย ละ 54.06 อยูในบริเวณภาคอีสาน และมีการเลิกจางงานเพิ่มขึ้นจํานวน 72 คน ภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคมมีนาคม 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 42 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 10,470 ลานบาท มีการจางงาน จํานวนรวม 3,782 คน สําหรับเดือนมีนาคม 2555 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมทั้งสิ้น 20 โครงการ เงินลงทุนรวม 6,512 ลานบาท มีการจางงานรวม 1,662 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวา โครงการไดรับอนุมัติมีจํานวนเพิ่มขึ้น 82 โครงการ มีมูลคาเงินลงทุน รวมเพิ่มขึ้น 274 ลานบาท แตมีการจางงานลดลง 28 คน โดยรวมเงิน ลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณภาคใต มีมูลคารวม 3,938 ลานบาท (สัดสวนรอยละ 60.47 ของเงินลงทุนทั้งหมด) โดยเงินลงทุนมีมากสุดอยู จังหวัดสุราษฏรธานี (มูลคา 3,898 ลานบาท) ผลิตน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ รองลงมาคืออุบลราชธานี (มูลคา 620 ลานบาท) ผลิตแปงมันสําปะหลัง สวนการจางงานมากสุดอยูที่จังหวัดสมุทรสาคร มีจํานวน 280 คน (สัดสวนรอยละ 16.85 ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือ อุบลราชธานี มีจํานวน 266 คน (รอยละ 20.83)
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
พฤษภาคม 2555
จำนวนโรงงาน ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนเมษายน 2555 มี จํานวน 16 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง 9 โรงงาน รองลงมาคือภาค อีสาน 4 โรงงาน และภาคตะวันออก 2 โรงงาน สวนภาคใต มี 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการผลิตแบงออกเปนการผลิตและแปรรูปพืชผลทาง การเกษตร 10 โรงงาน ผลิตเนื้อสัตวแชแข็ง 2 โรงงาน ผลิตเนื้อสัตว แปรรูป ผลิตแปงกึ่งสําเร็จรูปจากธัญพืช ผลิตขนมปนสิบ และผลิต น้ําแข็ง/น้ําดื่ม มีอยางละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่มประกอบ กิจการใหมทั้งหมด มีมูลคาเงินลงทุนรวม 148 ลานบาท โดยสัดสวน รอยละ 49.08 อยูในบริเวณภาคกลาง มีผลทําใหเกิดการจางงานเพิ่มขึ้น จํานวน 172 คน โดยอยูในบริเวณภาคตะวันออกมากสุด มีจํานวน 86 คน คิดเปนรอยละ 50.00 ของการจางงานใหมทั้งหมด สําหรับจํานวน โรงงานที่เลิกประกอบกิจการในเดือนเมษายน 2555 มีจํานวน 9 โรงงาน อยูบริเวณภาคอีสาน 7 โรงงาน รองลงมาคือภาคตะวันออกและตะวันตก มีภาคละ 1 โรงงาน มูลคาเงินลงทุนรวม 19 ลานบาท โดยสัดสวนรอย ละ 54.06 อยูในบริเวณภาคอีสาน และมีการเลิกจางงานเพิ่มขึ้นจํานวน 72 คน ภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคมมีนาคม 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 42 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 10,470 ลานบาท มีการจางงาน จํานวนรวม 3,782 คน สําหรับเดือนมีนาคม 2555 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมทั้งสิ้น 20 โครงการ เงินลงทุนรวม 6,512 ลานบาท มีการจางงานรวม 1,662 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวา โครงการไดรับอนุมัติมีจํานวนเพิ่มขึ้น 82 โครงการ มีมูลคาเงินลงทุน รวมเพิ่มขึ้น 274 ลานบาท แตมีการจางงานลดลง 28 คน โดยรวมเงิน ลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณภาคใต มีมูลคารวม 3,938 ลานบาท (สัดสวนรอยละ 60.47 ของเงินลงทุนทั้งหมด) โดยเงินลงทุนมีมากสุดอยู จังหวัดสุราษฏรธานี (มูลคา 3,898 ลานบาท) ผลิตน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ รองลงมาคืออุบลราชธานี (มูลคา 620 ลานบาท) ผลิตแปงมันสําปะหลัง สวนการจางงานมากสุดอยูที่จังหวัดสมุทรสาคร มีจํานวน 280 คน (สัดสวนรอยละ 16.85 ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือ อุบลราชธานี มีจํานวน 266 คน (รอยละ 20.83)
ภาพรวมภาวะการผลิต
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ในเดือนมีนาคม 2555 ปรับตัวเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับชวง เดียวกันของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 64.16 ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 2.77 ในกลุมสินคาที่มีอัตราการใช กําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้นที่สําคัญ ไดแก อาหารไกสําเร็จรูป (ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 41.08) แปงมันสําปะหลัง (30.00) เนื้อไก แชแข็งและแชเย็น (27.95) น้ําตาลทรายดิบ (24.74) น้ํามันถั่ว เหลืองบริสุทธิ์ (17.66) ปลาซารดีนกระปอง (14.48) และอาหาร สุกรสําเร็จรูป (14.27) ตามลําดับ สําหรับสินคาที่มีอัตราการใช กําลังการผลิตปรับลดลง ไดแก ขาวโพดฝกออนกระปอง (ลดลง รอยละ 43.32) กุงแชแข็ง (31.41) เครื่องปรุงรส (30.54) น้ํา ผลไม (19.17) สับปะรดกระปอง (15.05) และน้ํามันปาลม บริสุทธิ์ (5.70) ตามลําดับ จากกําลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นในกลุม สินคาดังกลาว สงผลทําใหดัชนีผลผลิต (ถวงน้ําหนักมูลคาเพิ่ม) อุตสาหกรรมอยูที่ระดับ 188.98 เพิ่มขึ้นรอยละ 4.96 จากชวง เดียวกันของปกอน และจากผลผลิตโดยรวมในกลุมสินคาที่ปรับ เพิ่มขึ้น สะทอนภาพความตองการของตลาดที่ปรับเพิ่มขึ้นใน กลุมสินคาอาหารสัตว แปงมันสําปะหลัง เนื้อไกแชแข็งและแช เย็น น้ําตาลทราย และน้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ โดยดัชนีการสง สินคาปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 4.19 อยูที่ระดับ 165.40 ขณะที่ดัชนี สินคาสําเร็จรูปคงคลังปรบัเพิ่มขึ้นรอยละ 0.69 จากชวงเดียวกัน ของปกอน โดยอยูที่ระดับ 226.53 ดวยอัตราการใชกําลังการ ผลิตที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งปริมาณสินคาคงคลังที่มีสะสมกอนหนา สงผลใหสินคาในกลุมที่สําคัญยังคงเพิ่มขึ้น ไดแก สับปะรด กระปอง (เพิ่มขึ้นรอยละ 216.01) เนื้อไกแชแข็งและแชเย็น (101.23) น้ําผลไม (99.10) น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ (70.71) อาหาร ปลาสําเร็จรูป (59.59) น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ (55.80) แปงมัน สําปะหลัง (22.18) น้ําตาลทรายดิบ (20.56) และนมพรอมดื่ม (18.23) จากราคาวัตถุดิบที่ปรับเพิ่มสูงขึ้น ยังคงสงผลตอความ ตองการที่มีในตลาด รวมทั้งสินคาคงคลังที่ปรับเพิ่มขึ้นเล็กนอย
download PDF ย้อนกลับ