มิถุนายน 2555
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
มิถุนายน 2555
จำนวนโรงงาน
ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนพฤษภาคม 2555 มีจํานวน 9 โรงงาน อยูบริเวณภาคอีสาน 4 โรงงาน รองลงมาคือภาค กลาง 3 โรงงาน สวนภาคตะวันออกและภาคใต มีอยางละ 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการผลิตแบงออกเปนการผลิตและแปรรูปพืชผลทาง การเกษตร 4 โรงงาน สําหรับการผลิตลําไยอบแหง ผลิตเครื่องปรุงรส ผลิตขนมปนสิบ/ขนมทอด ผลิตน้ําผลไมและขนมขบเคี้ยว และผลิต น้ําแข็ง/น้ําดื่ม มีอยางละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่มประกอบ กิจการใหมทั้งหมด มีมูลคาเงินลงทุนรวม 100 ลานบาท โดยสัดสวน รอยละ 53.61 อยูในบริเวณภาคกลาง และมีผลทําใหเกิดการจางงาน เพิ่มขึ้นจํานวน 149 คน โดยอยูในบริเวณภาคกลางมากที่สุด มีจํานวน 70 คน คิดเปนรอยละ 46.98 ของการจางงานใหมทั้งหมด สําหรับ จํานวนโรงงานท่ีเลิกประกอบกิจการในเดือนพฤษภาคม 2555 มีจํานวน 15 โรงงาน อยูบริเวณภาคเหนือและภาคกลาง มีอยางละ 5 โรงงาน ภาคอีสาน มี 4 โรงงาน และภาคใต มี 1 โรงงาน มูลคาเงินลงทุนรวม 144 ลานบาท โดยสัดสวนรอยละ 69.01 อยูในบริเวณภาคเหนือ และมี การเลิกจางงานเพิ่มขึ้นจํานวน 98 คน
ภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคมเมษายน 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 58 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 13,420 ลานบาท มีการจางงาน จํานวนรวม 6,227 คน สําหรับเดือนเมษายน 2555 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมทั้งสิ้น 16 โครงการ เงินลงทุนรวม 2,950 ลานบาท มีการจางงานรวม 2,445 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวา โครงการไดรับอนุมัติมีจํานวนเพิ่มขึ้น 10 โครงการ แตมีมูลคาเงินลงทุน รวมลดลง 630 ลานบาท และมีการจางงานลดลง 301 คน โดยรวมเงิน ลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณภาคอีสาน มีมูลคารวม 1,540 ลานบาท (สัดสวนรอยละ 52.20 ของเงินลงทุนทั้งหมด) โดยเงินลงทุนมีมากที่สุด อยูจังหวัดอุบลราชธานี (มูลคา 801 ลานบาท) ผลิตไกสด/แชแข็ง และ ผลิตอาหารสําเร็จรูป รองลงมาคือปราจีนบุรี (มูลคา 728 ลานบาท) ผลิต ขนมจากธัญพืช สวนการจางงานมากสุดอยูที่จังหวัดอุบลราชธานี มี จํานวน 1,205 คน (สัดสวนรอยละ 49.28 ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือปราจีนบุรี มีจํานวน 314 คน (รอยละ 12.84)
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
มิถุนายน 2555
จำนวนโรงงาน
ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนพฤษภาคม 2555 มีจํานวน 9 โรงงาน อยูบริเวณภาคอีสาน 4 โรงงาน รองลงมาคือภาค กลาง 3 โรงงาน สวนภาคตะวันออกและภาคใต มีอยางละ 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการผลิตแบงออกเปนการผลิตและแปรรูปพืชผลทาง การเกษตร 4 โรงงาน สําหรับการผลิตลําไยอบแหง ผลิตเครื่องปรุงรส ผลิตขนมปนสิบ/ขนมทอด ผลิตน้ําผลไมและขนมขบเคี้ยว และผลิต น้ําแข็ง/น้ําดื่ม มีอยางละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่มประกอบ กิจการใหมทั้งหมด มีมูลคาเงินลงทุนรวม 100 ลานบาท โดยสัดสวน รอยละ 53.61 อยูในบริเวณภาคกลาง และมีผลทําใหเกิดการจางงาน เพิ่มขึ้นจํานวน 149 คน โดยอยูในบริเวณภาคกลางมากที่สุด มีจํานวน 70 คน คิดเปนรอยละ 46.98 ของการจางงานใหมทั้งหมด สําหรับ จํานวนโรงงานท่ีเลิกประกอบกิจการในเดือนพฤษภาคม 2555 มีจํานวน 15 โรงงาน อยูบริเวณภาคเหนือและภาคกลาง มีอยางละ 5 โรงงาน ภาคอีสาน มี 4 โรงงาน และภาคใต มี 1 โรงงาน มูลคาเงินลงทุนรวม 144 ลานบาท โดยสัดสวนรอยละ 69.01 อยูในบริเวณภาคเหนือ และมี การเลิกจางงานเพิ่มขึ้นจํานวน 98 คน
ภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคมเมษายน 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 58 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 13,420 ลานบาท มีการจางงาน จํานวนรวม 6,227 คน สําหรับเดือนเมษายน 2555 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมทั้งสิ้น 16 โครงการ เงินลงทุนรวม 2,950 ลานบาท มีการจางงานรวม 2,445 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวา โครงการไดรับอนุมัติมีจํานวนเพิ่มขึ้น 10 โครงการ แตมีมูลคาเงินลงทุน รวมลดลง 630 ลานบาท และมีการจางงานลดลง 301 คน โดยรวมเงิน ลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณภาคอีสาน มีมูลคารวม 1,540 ลานบาท (สัดสวนรอยละ 52.20 ของเงินลงทุนทั้งหมด) โดยเงินลงทุนมีมากที่สุด อยูจังหวัดอุบลราชธานี (มูลคา 801 ลานบาท) ผลิตไกสด/แชแข็ง และ ผลิตอาหารสําเร็จรูป รองลงมาคือปราจีนบุรี (มูลคา 728 ลานบาท) ผลิต ขนมจากธัญพืช สวนการจางงานมากสุดอยูที่จังหวัดอุบลราชธานี มี จํานวน 1,205 คน (สัดสวนรอยละ 49.28 ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือปราจีนบุรี มีจํานวน 314 คน (รอยละ 12.84)
ภาพรวมภาวะการผลิต
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ในเดือนเมษายน 2555 ปรับตัวเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับชวง เดียวกันของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 55.91 ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 3.94 ในกลุมสินคาที่มีอัตราการใช กําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้นที่สําคัญ ไดแก ปลาซารดีนกระปอง (ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 30.53) อาหารกุงสําเร็จรูป (29.16) อาหาร ปลาสําเร็จรูป (28.23) แปงมันสําปะหลัง (25.23) นมพรอมดื่ม (24.81) เนื้อไกแชแข็งและแชเย็น (22.07) อาหารไกสําเร็จรูป (17.75) อาหารสุกรสําเร็จรูป (9.84) น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ (5.87) และน้ําตาลทรายขาว (3.66) ตามลําดับ สําหรับสินคาที่มี อัตราการใชกําลังการผลิตปรับลดลง ไดแก น้ําตาลทรายดิบ (ลดลงรอยละ 35.19) เครื่องปรุงรส (28.52) สับปะรดกระปอง (25.85) น้ําผลไม (23.73) กุงแชแข็ง (19.83) น้ํามันปาลม บริสุทธิ์ (17.22) และปลาทูนากระปอง (5.58) ตามลําดับ จาก กําลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นในกลุมสินคาดังกลาว สงผลทําใหดัชนี ผลผลิต (ถวงน้ําหนักมูลคาเพิ่ม) อุตสาหกรรมอยูที่ระดับ 154.25 เพิ่มขึ้นรอยละ 4.46 จากชวงเดียวกันของปกอน และ จากผลผลิตโดยรวมในกลุมสินคาท่ีปรับเพิ่มขึ้น ไดสะทอนภาพ ความตองการของตลาดที่ปรับเพิ่มขึ้นในกลุมสินคาอาหารสัตว ปลากระปอง แปงมันสําปะหลัง ผลิตภัณฑนม เนื้อไกแชแข็ง/แช เย็น และน้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ โดยดัชนีการสงสินคาปรับ เพิ่มขึ้นรอยละ 0.47 อยูที่ระดับ 139.62 ขณะที่ดัชนีสินคา สําเร็จรูปคงคลังปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 7.58 จากชวงเดียวกันของป กอน โดยอยูที่ระดับ 231.76 ดวยอัตราการใชกําลังการผลิตที่ เพิ่มขึ้น รวมทั้งปริมาณสินคาคงคลังที่มีสะสมกอนหนา สงผลให สินคาคงคลังในกลุมที่สําคัญยังคงเพิ่มขึ้น ไดแก สับปะรด กระปอง (เพิ่มขึ้นรอยละ 150.56) น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ (141.27) เนื้อไกแชแข็งและแชเย็น (103.00) น้ําผลไม (89.82) นมพรอมดื่ม (74.03) อาหารไกสําเร็จรูป (35.71) น้ํามันปาลม บริสุทธิ์ (27.69) และแปงมันสําปะหลัง (14.05)
download PDF ย้อนกลับ