กันยายน 2555
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
กันยายน 2555
จำนวนโรงงาน ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนสิงหาคม 2555 มี จํานวน 3 โรงงาน อยูบริเวณภาคเหนือ มี 2 โรงงาน และภาคกลาง มี 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการผลิตแบงออกเปนการผลิตและแปรรูปพืชผล ทางการเกษตร ผลิตน้ําแข็ง/น้ําดื่ม และผลิตเครื่องดื่มสําเร็จรูป มีอยาง ละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการใหมทั้งหมด มี มูลคาเงินลงทุนรวม 30 ลานบาท โดยสัดสวนรอยละ 60.77 อยูใน บริเวณภาคกลาง และมีผลทําใหเกิดการจางงานเพิ่มขึ้นจํานวน 67 คน โดยอยูในบริเวณภาคเหนือมากที่สุด มีจํานวน 50 คน คิดเปนรอยละ 74.63 ของการจางงานใหมทั้งหมด สําหรับจํานวนโรงงานที่เลิกประกอบ กิจการในเดือนสิงหาคม 2555 มีจํานวน 7 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง มี 3 โรงงาน ภาคเหนือ มี 2 โรงงาน สวนภาคอีสาน และภาคตะวันออก มีภาคละ 1 โรงงาน มูลคาเงินลงทุนรวม 138 ลานบาท โดยสัดสวนรอย ละ 89.30 อยูในบริเวณภาคเหนือ ไดแก เชียงราย (มูลคา 104 ลาน บาท) และลําพูน (มูลคา 19 ลานบาท) โดยมีการเลิกจางงานเพิ่มขึ้น จํานวน 282 คน โดยอยูในบริเวณภาคเหนือมากที่สุด มีจํานวน 229 คน คิดเปนรอยละ 81.21
ภาวะการลงทุน ภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคมกรกฎาคม 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวน ทั้งสิ้น 98 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 25,739 ลานบาท มีการจางงาน จํานวนรวม 21,237 คน สําหรับเดือนกรกฎาคม 2555 มีโครงการที่ ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมทั้งสิ้น 15 โครงการ เงินลงทุนรวม 3,164 ลานบาท มีการจางงานรวม 6,809 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวาโครงการไดรับอนุมัติปรับเพิ่มขึ้น 11 โครงการ มีมูลคาเงินลงทุน รวมปรับเพิ่มขึ้น 2,139 ลานบาท และมีการจางงานเพิ่มขึ้น 5,960 คน โดยรวมเงินลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณภาคกลาง มีมูลคารวม 2,200 ลานบาท (สัดสวนรอยละ 69.53 ของเงินลงทุนทั้งหมด) โดยเงินลงทุนมี มากที่สุดอยูที่พระนครศรีอยุธยา (มูลคา 1,138 ลานบาท) ผลิตอาหาร สําเร็จรูป/กึ่งสําเร็จรูปแชแข็ง รองลงมาคือกําแพงเพชร (มูลคา 575 ลาน บาท) ผลิตผงชูรส สวนการจางงานมากสุดอยูที่กรุงเทพฯ มีจํานวน 4,636 คน (สัดสวนรอยละ 68.09 ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือ พระนครศรีอยุธยา มีจํานวน 500 คน (รอยละ 7.34)
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
กันยายน 2555
จำนวนโรงงาน ที่ไดเริ่มประกอบกิจการในเดือนสิงหาคม 2555 มี จํานวน 3 โรงงาน อยูบริเวณภาคเหนือ มี 2 โรงงาน และภาคกลาง มี 1 โรงงาน โดยมีลักษณะการผลิตแบงออกเปนการผลิตและแปรรูปพืชผล ทางการเกษตร ผลิตน้ําแข็ง/น้ําดื่ม และผลิตเครื่องดื่มสําเร็จรูป มีอยาง ละ 1 โรงงาน จากจํานวนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการใหมทั้งหมด มี มูลคาเงินลงทุนรวม 30 ลานบาท โดยสัดสวนรอยละ 60.77 อยูใน บริเวณภาคกลาง และมีผลทําใหเกิดการจางงานเพิ่มขึ้นจํานวน 67 คน โดยอยูในบริเวณภาคเหนือมากที่สุด มีจํานวน 50 คน คิดเปนรอยละ 74.63 ของการจางงานใหมทั้งหมด สําหรับจํานวนโรงงานที่เลิกประกอบ กิจการในเดือนสิงหาคม 2555 มีจํานวน 7 โรงงาน อยูบริเวณภาคกลาง มี 3 โรงงาน ภาคเหนือ มี 2 โรงงาน สวนภาคอีสาน และภาคตะวันออก มีภาคละ 1 โรงงาน มูลคาเงินลงทุนรวม 138 ลานบาท โดยสัดสวนรอย ละ 89.30 อยูในบริเวณภาคเหนือ ไดแก เชียงราย (มูลคา 104 ลาน บาท) และลําพูน (มูลคา 19 ลานบาท) โดยมีการเลิกจางงานเพิ่มขึ้น จํานวน 282 คน โดยอยูในบริเวณภาคเหนือมากที่สุด มีจํานวน 229 คน คิดเปนรอยละ 81.21
ภาวะการลงทุน ภาคอุตสาหกรรมอาหารในชวงเดือนมกราคมกรกฎาคม 2555 มีโครงการที่ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวน ทั้งสิ้น 98 โครงการ เงินลงทุนมูลคารวม 25,739 ลานบาท มีการจางงาน จํานวนรวม 21,237 คน สําหรับเดือนกรกฎาคม 2555 มีโครงการที่ ไดรับอนุมัติใหการสงเสริมทั้งสิ้น 15 โครงการ เงินลงทุนรวม 3,164 ลานบาท มีการจางงานรวม 6,809 คน เมื่อเทียบชวงเดียวกันของปกอน พบวาโครงการไดรับอนุมัติปรับเพิ่มขึ้น 11 โครงการ มีมูลคาเงินลงทุน รวมปรับเพิ่มขึ้น 2,139 ลานบาท และมีการจางงานเพิ่มขึ้น 5,960 คน โดยรวมเงินลงทุนสวนใหญอยูในบริเวณภาคกลาง มีมูลคารวม 2,200 ลานบาท (สัดสวนรอยละ 69.53 ของเงินลงทุนทั้งหมด) โดยเงินลงทุนมี มากที่สุดอยูที่พระนครศรีอยุธยา (มูลคา 1,138 ลานบาท) ผลิตอาหาร สําเร็จรูป/กึ่งสําเร็จรูปแชแข็ง รองลงมาคือกําแพงเพชร (มูลคา 575 ลาน บาท) ผลิตผงชูรส สวนการจางงานมากสุดอยูที่กรุงเทพฯ มีจํานวน 4,636 คน (สัดสวนรอยละ 68.09 ของการจางงานทั้งหมด) รองลงมาคือ พระนครศรีอยุธยา มีจํานวน 500 คน (รอยละ 7.34)
ภาพรวมภาวะการผลิต อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ในเดือนกรกฎาคม 2555 ปรับตัวเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับชวง เดียวกันของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 57.85 ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 3.24 ในกลุมสินคาที่มีอัตราการใช กําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้นที่สําคัญ ไดแก ขาวโพดฝกออน กระปอง (ปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 92.67) ปลาซารดีนกระปอง (45.73) น้ํามันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ (26.58) ปลาทูนากระปอง (26.09) ซอสถั่วเหลือง/เตาเจี้ยว/ซีอิ้ว (19.59) อาหารสุกร สําเร็จรูป (18.31) ผงชูรส (14.15) นมพรอมดื่ม (12.87) อาหาร ไกสําเร็จรูป (10.83) น้ําผลไม (6.97) และน้ําตาลทรายขาว (3.91) ตามลําดับ สําหรับสินคาที่มีอัตราการใชกําลังการผลิต ปรับลดลง ไดแก สับปะรดกระปอง (ลดลงรอยละ 45.82) อาหารปลาสําเร็จรูป (19.45) กุงแชแข็ง (18.22) ปลาหมึกแช แข็ง (17.19) อาหารกุงสําเร็จรูป (13.35) น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ (9.44) แปงมันสําปะหลัง (8.60) เนื้อไกแชแข็งและแชเย็น (4.53) ปลาแชแข็ง (2.80) และน้ําปลา (0.21) ตามลําดับ และ ดวยกําลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นในกลุมสินคาดังกลาว สงผลทําให ดัชนีผลผลิต (ถวงน้ําหนักมูลคาเพิ่ม) อุตสาหกรรมอยูที่ระดับ 150.83 เพิ่มขึ้นรอยละ 5.49 จากชวงเดียวกันของปกอน ผลผลิตโดยรวมในกลุมสินคาสําคัญที่ปรับลดลง สะทอนภาพ ความตองการของตลาดที่ลดนอยลง โดยเฉพาะในกลุมน้ํามัน ปาลมบริสุทธิ์ กุงแชแข็ง อาหารสัตวน้ําสําเร็จรูป ปลากระปอง สับปะรด และเนื้อไกแชแข็งและแชเย็น โดยดัชนีการสงสินคา ปรับลดลงรอยละ 0.60 อยูที่ระดับ 153.68 ขณะที่ดัชนีสินคา สําเร็จรูปคงคลังปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 9.57 จากชวงเดียวกันของป กอน โดยอยูที่ระดับ 229.97สภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซาสงผลตอ คําสั่งซื้อใหปรับลดลงตามความเช่ือมั่นของผูบริโภคที่ลดลง สงผลใหสินคาคงคลังในกลุมที่สําคัญปรับเพิ่มขึ้นคือ น้ําผลไม (เพิ่มขึ้นรอยละ 135.56) สับปะรดกระปอง (82.03) น้ํามัน ถั่วเหลืองบริสุทธิ์ (71.25) และแปงมันสําปะหลัง (34.92)
download PDF ย้อนกลับ