เมษายน 2556
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
เมษายน 2556
Invesment
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนกุมภาพันธ 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 9 โครงการ ดวย เงินลงทุนมีมูลคารวม 1,381 ลานบาท และการจางงาน จํานวน 1,490 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน จะพบวาจํานวนโครงการไดปรับลดลงรอยละ 44.44 มูลคาเงินลงทุนปรับลดลงรอยละ 107.66 แตการจาง งานปรับเพิ่มข้ึนรอยละ 15.09 เมื่อพิจารณาเปนราย เขตจะพบวาในเดือนกุมภาพันธ 2556 เขตที่ 1 และ 2 ปรับลดลงทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน ขณะที่เขตที่ 3 โครงการและเงินลงทุนปรับลดลงเชนกัน แตการจางงานปรบัเพิ่มขึ้นจํานวน 463 คน โดยเพิ่มขึ้น ในบริเวณภาคใตถึง 615 คน (สัดสวนรอยละ 41.28 ของการจางงานทั้งหมด) โดยกลุมสินคาที่มีเงินลงทุน มากที่สุด ไดแก ผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง มีมูลคาอยู ที่ 604 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 43.74 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือผลิตภัณฑเนื้อสุกร แชแข็ง มีมูลคา 256 ลานบาท มีสัดสวนรอยละ 18.54 และผลิตภัณฑจากเนื้อปลาบด มีมูลคา 190 ลานบาท มี สัดสวนรอยละ 13.76 จากมูลคาของเงินลงทุนในภาค การผลิตทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวงไตรมาสที่ 3 ของป 2556 จะมีกําลังการผลิตสินคาเพื่อการบริโภค ในอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้นประมาณ 1.04 แสนตัน โดยแบงออกเปนผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง จะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 90,000 ตัน (ทั้งระบบกําลัง การผลิตอยูท่ี 2.39 ลานตันตอป) ปรับเพิ่มตามขนาด ตลาดที่ขยายใหญมากขึ้น ผลิตภัณฑเนื้อสุกรแชแข็ง กําลังการผลิตจะเพิ่มขึ้น 7,328 ตัน (ทั้งระบบ 1.07 ลานตันตอป) ขณะที่ผลิตภัณฑจากเนื้อปลาบด จะมี กําลังการผลิตเพิ่มขึ้น 7,500 ตัน (ทั้งระบบ 1.58 แสน ตันตอป) สวนปริมาณการจางงานพบวากลุมผลิตภัณฑ เนื้อสุกรแชแข็ง มีการจางงาน 340 คน คิดเปนสัดสวน รอยละ 22.82 โดยเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดกระบี่ รองลงมาคือผลิตภัณฑสัตวน้ําแชแข็งมีการจางงาน 275 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 18.46 โดยเพิ่มขึ้นในพื้นที่ จังหวัดสงขลา
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
เมษายน 2556
Invesment
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนกุมภาพันธ 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 9 โครงการ ดวย เงินลงทุนมีมูลคารวม 1,381 ลานบาท และการจางงาน จํานวน 1,490 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน จะพบวาจํานวนโครงการไดปรับลดลงรอยละ 44.44 มูลคาเงินลงทุนปรับลดลงรอยละ 107.66 แตการจาง งานปรับเพิ่มข้ึนรอยละ 15.09 เมื่อพิจารณาเปนราย เขตจะพบวาในเดือนกุมภาพันธ 2556 เขตที่ 1 และ 2 ปรับลดลงทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน ขณะที่เขตที่ 3 โครงการและเงินลงทุนปรับลดลงเชนกัน แตการจางงานปรบัเพิ่มขึ้นจํานวน 463 คน โดยเพิ่มขึ้น ในบริเวณภาคใตถึง 615 คน (สัดสวนรอยละ 41.28 ของการจางงานทั้งหมด) โดยกลุมสินคาที่มีเงินลงทุน มากที่สุด ไดแก ผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง มีมูลคาอยู ที่ 604 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 43.74 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือผลิตภัณฑเนื้อสุกร แชแข็ง มีมูลคา 256 ลานบาท มีสัดสวนรอยละ 18.54 และผลิตภัณฑจากเนื้อปลาบด มีมูลคา 190 ลานบาท มี สัดสวนรอยละ 13.76 จากมูลคาของเงินลงทุนในภาค การผลิตทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวงไตรมาสที่ 3 ของป 2556 จะมีกําลังการผลิตสินคาเพื่อการบริโภค ในอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้นประมาณ 1.04 แสนตัน โดยแบงออกเปนผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง จะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 90,000 ตัน (ทั้งระบบกําลัง การผลิตอยูท่ี 2.39 ลานตันตอป) ปรับเพิ่มตามขนาด ตลาดที่ขยายใหญมากขึ้น ผลิตภัณฑเนื้อสุกรแชแข็ง กําลังการผลิตจะเพิ่มขึ้น 7,328 ตัน (ทั้งระบบ 1.07 ลานตันตอป) ขณะที่ผลิตภัณฑจากเนื้อปลาบด จะมี กําลังการผลิตเพิ่มขึ้น 7,500 ตัน (ทั้งระบบ 1.58 แสน ตันตอป) สวนปริมาณการจางงานพบวากลุมผลิตภัณฑ เนื้อสุกรแชแข็ง มีการจางงาน 340 คน คิดเปนสัดสวน รอยละ 22.82 โดยเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดกระบี่ รองลงมาคือผลิตภัณฑสัตวน้ําแชแข็งมีการจางงาน 275 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 18.46 โดยเพิ่มขึ้นในพื้นที่ จังหวัดสงขลา
Industry Overview
ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มในเดือนกุมภาพันธ 2556 ปรับตัว ลดลง เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตรา การใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 52.33 ปรับลดลงรอย ละ 11.83 อัตราขยายตัวของการใชกําลังการผลิตใน กลุมผลิตภัณฑที่สําคัญปรับตัวลดลงหรือติดลบ มาจาก สาเหตุหลักไดแก ดานสภาพภูมิอากาศที่ไมเอื้ออํานวย ตอพื้นที่เพาะปลูก ทั้งระดับความรอนที่เพิ่มสูงขึ้นและ ปริมาณน้ําเพื่อการเพาะปลูกไมเพียงพอ ทําใหผลผลิต เกิดความเสียหายจากการขาดน้ําและโรคที่เกิดขึ้น ทํา ใหผลผลิตที่เก็บเกี่ยวไดลดลงประมาณ 20-50% ระดับราคาจึงเพิ่มสูงขึ้น สวนดานการคาความตองการ บริโภคในตลาดไดปรับลดลง ผูนําเขาตางประเทศชะลอ คําสั่งซื้อโดยเฉพาะในกลุมสินคาที่สําคัญ (เนื้อไก, กุง ขาวและน้ําตาล) ในขณะที่คาเงินบาทของไทยมีแนวโนม วาระยะสั้นจะลดระดับลงมาอยูที่ระดับ 28.50-28.80 บาทตอหนึ่งดอลลาร เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่ปรับตัว ดีขึ้นของสหรัฐอเมริกา ซึ่งปจจัยขางตนที่กลาวมาได สงผลทําใหกลุมผลิตภัณฑ คือ อาหารสัตวตางๆ และ พรีมิกซ (อาหารกุงสําเร็จรูป -68.25, ไก -13.14, สุกร -10.63), ผลิตภัณฑปลาและกุง (กุงแชแข็ง -36.70, ปลาแชแข็ง -18.81), ผลไมและผักกระปอง (น้ําผลไม -63.36, สับปะรดกระปอง -18.77) และเนื้อไกแช แข็ง/แชเย็น (เนื้อไกแชแข็ง -9.26) มีอัตราการ ขยายตัวสําหรับการใชกําลังการผลิตในเดือนกุมภาพันธ 2556 ปรับตัวลดลง ยกเวนในกลุมผลิตภัณฑที่ไดจาก นม (นมพรอมดื่ม +68.08), เครื่องปรุงรส (ซอส น้ําปลาและเครื่องปรุงรส +34.33) และผลิตภัณฑปลา/ ทูนากระปอง (ทูนากระปอง +12.62) ที่ภาคธุรกิจ ยังคงมีกําลังการผลิตปรับเพิ่มสูงขึ้น ไดสะทอนภาพ คําสั่งซื้อที่ภาคธุรกิจไดรับในระยะสั้นและยังคงเปนบวก อยู หากแตวาการเพิ่มสูงขึ้นของระดับราคาวัตถุดิบใน ปจจุบันจะยังคงเปนภาระที่ภาคธุรกิจตองแบกรับไวและ ยังไมมีแนวทางในการจัดหาวัตถุดิบจากแหลงอื่นๆ ที่มี ระดับราคาที่จะสามารถลดภาระตนทุนในภาคการผลิต ของภาคธุรกิจใหลดลงได
download PDF ย้อนกลับ