พฤษภาคม 2556
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
พฤษภาคม 2556
Invesment
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนมีนาคม 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 14 โครงการ ดวยเงินลงทุนมีมูลคารวม 6,529 ลานบาท และการจาง งานจํานวน 2,657 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอนจะพบวาจํานวนโครงการไดปรับลดลงรอยละ 30.00 มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 0.26 และ การจางงานปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 59.87 เมื่อพิจารณา เปนรายเขตจะพบวาในเดือนมีนาคม 2556 เขตที่ 3 ปรับลดลงทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน และเขตที่ 1 ปรับลดลงจํานวนโครงการและการจางงาน ขณะที่เขตที่ 2 จํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจาง งานไดปรับเพิ่มขึ้น โดยเงินลงทุนและการจางงานได ปรับเพิ่มขึ้นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สัดสวนรอยละ 48.48 และ 65.56 ตามลําดับ โดยกลุมสินคาที่มีเงิน ลงทุนมากที่สุด ไดแก ผลิตภัณฑเบเกอรี่และขนมปง กรอบ มีมูลคาอยูที่ 2,126 ลานบาท คิดเปนสัดสวน รอยละ 32.56 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือ ผลิตภัณฑนม มีมูลคา 1,294 ลานบาท สัดสวนรอยละ 19.82 และผลิตภัณฑน้ําผัก/ผลไม มีมูลคา 1,212 ลานบาท สัดสวนรอยละ 18.56 จากมูลคาของเงิน ลงทุนในภาคการผลิตทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําให ในชวงไตรมาสที่ 3 ของป 2556 จะมีกําลังการผลิต สินคาเพื่อการบริโภคในอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้น ประมาณ 5 แสนตัน โดยแบงออกเปนผลิตภัณฑเบเกอรี่ และขนมปงกรอบ จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 24,640 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิตอยูที่ 1.2 แสนตัน ตอป) ตามมูลคาตลาดที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น ผลิตภัณฑนม กําลังการผลิตจะเพิ่มขึ้น 373,232 ตัน (ทั้งระบบ 1 ลานตันตอป) ขณะที่ผลิตภัณฑน้ําผัก/ผลไม จะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้น 96,000 ตัน (ทั้งระบบ 2.2 แสนตัน ตอป) สวนการจางงานพบวากลุมผลิตภัณฑสําเร็จรูป จากเนื้อไกมีการจางงาน 668 คน คิดเปนสัดสวนรอย ละ 25.14 รองลงมาคือผลิตภัณฑนมมีการจางงาน 552 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 20.78 โดยทั้งสองผลิตภัณฑ ปรับเพิ่มขึ้นในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
พฤษภาคม 2556
Invesment
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนมีนาคม 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 14 โครงการ ดวยเงินลงทุนมีมูลคารวม 6,529 ลานบาท และการจาง งานจํานวน 2,657 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอนจะพบวาจํานวนโครงการไดปรับลดลงรอยละ 30.00 มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 0.26 และ การจางงานปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 59.87 เมื่อพิจารณา เปนรายเขตจะพบวาในเดือนมีนาคม 2556 เขตที่ 3 ปรับลดลงทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน และเขตที่ 1 ปรับลดลงจํานวนโครงการและการจางงาน ขณะที่เขตที่ 2 จํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจาง งานไดปรับเพิ่มขึ้น โดยเงินลงทุนและการจางงานได ปรับเพิ่มขึ้นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สัดสวนรอยละ 48.48 และ 65.56 ตามลําดับ โดยกลุมสินคาที่มีเงิน ลงทุนมากที่สุด ไดแก ผลิตภัณฑเบเกอรี่และขนมปง กรอบ มีมูลคาอยูที่ 2,126 ลานบาท คิดเปนสัดสวน รอยละ 32.56 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือ ผลิตภัณฑนม มีมูลคา 1,294 ลานบาท สัดสวนรอยละ 19.82 และผลิตภัณฑน้ําผัก/ผลไม มีมูลคา 1,212 ลานบาท สัดสวนรอยละ 18.56 จากมูลคาของเงิน ลงทุนในภาคการผลิตทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําให ในชวงไตรมาสที่ 3 ของป 2556 จะมีกําลังการผลิต สินคาเพื่อการบริโภคในอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้น ประมาณ 5 แสนตัน โดยแบงออกเปนผลิตภัณฑเบเกอรี่ และขนมปงกรอบ จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 24,640 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิตอยูที่ 1.2 แสนตัน ตอป) ตามมูลคาตลาดที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น ผลิตภัณฑนม กําลังการผลิตจะเพิ่มขึ้น 373,232 ตัน (ทั้งระบบ 1 ลานตันตอป) ขณะที่ผลิตภัณฑน้ําผัก/ผลไม จะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้น 96,000 ตัน (ทั้งระบบ 2.2 แสนตัน ตอป) สวนการจางงานพบวากลุมผลิตภัณฑสําเร็จรูป จากเนื้อไกมีการจางงาน 668 คน คิดเปนสัดสวนรอย ละ 25.14 รองลงมาคือผลิตภัณฑนมมีการจางงาน 552 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 20.78 โดยทั้งสองผลิตภัณฑ ปรับเพิ่มขึ้นในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Industry Overview
ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มในเดือนมีนาคม 2556 ปรับตัว ลดลง เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตรา การใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 61.71 ปรับลดลงรอย ละ 4.03 อัตราขยายตัวของการใชกําลังการผลิตในกลุม ผลิตภัณฑที่สําคัญปรับตัวลดลง มีสาเหตุจากปจจัยหลัก คือสภาพอากาศไมเอื้ออํานวย สงผลกระทบทั้งผลผลิต ทางการเกษตรและปศุสัตว ทั้งความเสียหายตอผลผลิต และตอการเจริญเติบโต ซึ่งปจจุบันผลผลิตที่เก็บเกี่ยว ไดปรับลดลงเฉลี่ย 40% และกลุมปศุสัตวมีวัตถุดิบเขา สูตลาดลดลงเฉล่ีย 25% ขณะที่กลุมผูเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ตางไดรับผลกระทบจากความรอนจัดของสภาพอากาศ จนถึงขั้นขาดแคลนและตองนําเขาจากประเทศใกลเคียง สวนภาคการคาความตองการบริโภคในตลาดมีแนวโนม ชะลอตัวลงจากภาวะเศรษฐกิจในภูมิภาคที่สําคัญ ไดแก กลุมสหภาพยุโรปที่ยังคงไมมีสัญญาณการฟนตัวที่แน ชัดและอัตราการวางงานที่ปรับเพิ่มขึ้น ดานสหรัฐฯ การ อัดเงินเขาสูระบบยังไมสามารถเพิ่มตัวเลขการบริโภค ขึ้นไดมากนัก อีกทั้งญี่ปุนที่มีการขาดดุลการคายาวนาน 8 เดือนติดตอกัน ลวนเปนปจจัยที่สงผลทําใหผูนําเขา ตางประเทศตองชะลอคําสั่งซื้อ โดยเฉพาะในกลุมสินคา ที่สําคัญที่มีอัตราการขยายตัวสําหรับการใชกําลังการ ผลิตในเดือนมีนาคม 2556 ปรับตัวลดลง ไดแก กุงขาว , แปงมันสําปะหลัง, ผลไม/ผักกระปองและเนื้อไก จาก ปจจัยขางตนไดสงผลทําใหกลุมผลิตภัณฑ คือ อาหารกุง สําเร็จรูป -75.78, กุงแชแข็ง -24.48, ปลาหมึก -9.12, แปงมันสําปะหลัง -19.91, น้ําผลไม -54.13, สับปะรด กระปอง -1.85 และเนื้อไกแชแข็ง -11.87 ยกเวน ใน กลุมผลิตภัณฑขาวโพดฝกออนกระปอง +78.02, นม พรอมดื่ม +42.73, ปลาทูนากระปอง +12.62 และ น้ําปลา +15.93 ที่ภาคธุรกิจยังมีกําลังการผลิตปรับเพิ่ม สูงขึ้น สะทอนภาพความตองการบริโภคในตลาดที่มี หากแตภาคธุรกิจยังคงตองรับภาระตนทุนดานวัตถุดิบที่ เพิ่มสูงขึ้นในปจจุบนัและอาจตองปรับราคาสินคาเพื่อให สอดรับกับตนทุนการผลิตที่แทจริงและเพื่อใหสามารถ อยูรอดได
download PDF ย้อนกลับ