มิถุนายน 2556
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
มิถุนายน 2556
Invesment
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนเมษายน 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 19 โครงการ ดวยเงินลงทุนมีมูลคารวม 5,532 ลานบาท และการจาง งานจํานวน 1,618 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอน พบวาจํานวนโครงการไดปรับลดลงรอยละ 15.00 มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 39.65 และการจาง งานปรับลดลงรอยละ 49.76 เมื่อพิจารณาเปนรายเขต จะพบวาในเดือนเมษายน 2556 เขตที่ 3 ปรับลดลงทั้ง จํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน ขณะที่เขตที่ 1 และ 2 ปรับเพิ่มขึ้นทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและ การจางงาน โดยเฉพาะเงินลงทุนและการจางงานไดปรับ เพิ่มขึ้นในจังหวัดระยองมากสุด สัดสวนรอยละ 23.08 และ 31.58 ตามลําดับ โดยกลุมสินคาที่มีเงินลงทุนมาก ที่สุด ไดแก ผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง มีมูลคาอยูที่ 1,382 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 24.98 ของเงิน ลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือผลิตภัณฑบะหมี่กึ่งสําเร็จรูป มีมูลคา 933 ลานบาท สัดสวนรอยละ 16.87 และ ผลิตภัณฑอาหารพรอมรับประทาน มีมูลคา 618 ลาน บาท สัดสวนรอยละ 11.17 จากมูลคาของเงินลงทุนใน ภาคการผลิตทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวง ปลายป 2556 จะมีกําลังการผลิตสินคาเพื่อการบริโภค ในอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้นประมาณ 2.39 แสนตัน โดยแบงออกเปนผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง จะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 207,000 ตัน (ทั้งระบบกําลัง การผลิตอยูที่ 2.3 ลานตันตอป) ตามความตองการใช และมูลคาตลาดที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น สวนผลิตภัณฑบะหมี่ กึ่งสําเร็จรูป กําลังการผลิตจะเพิ่มขึ้น 25,000 ตัน (ทั้ง ระบบอยูที่ 1.6 แสนตันตอป) ขณะที่ผลิตภัณฑอาหาร พรอมรับประทาน จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น 7,000 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 3.2 แสนตันตอป) สําหรับการจาง งานพบวากลุมผลิตภัณฑบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปมีการจางงาน 515 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 31.83 รองลงมาคือ ผลิตภัณฑอาหารทะเลแชแข็ง มีการจางงาน 190 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 11.74 โดยเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่ จังหวัดระยอง ชลบุรีและสมุทรสาคร ตามลําดับ
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
มิถุนายน 2556
Invesment
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนเมษายน 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 19 โครงการ ดวยเงินลงทุนมีมูลคารวม 5,532 ลานบาท และการจาง งานจํานวน 1,618 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอน พบวาจํานวนโครงการไดปรับลดลงรอยละ 15.00 มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 39.65 และการจาง งานปรับลดลงรอยละ 49.76 เมื่อพิจารณาเปนรายเขต จะพบวาในเดือนเมษายน 2556 เขตที่ 3 ปรับลดลงทั้ง จํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน ขณะที่เขตที่ 1 และ 2 ปรับเพิ่มขึ้นทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและ การจางงาน โดยเฉพาะเงินลงทุนและการจางงานไดปรับ เพิ่มขึ้นในจังหวัดระยองมากสุด สัดสวนรอยละ 23.08 และ 31.58 ตามลําดับ โดยกลุมสินคาที่มีเงินลงทุนมาก ที่สุด ไดแก ผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง มีมูลคาอยูที่ 1,382 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 24.98 ของเงิน ลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือผลิตภัณฑบะหมี่กึ่งสําเร็จรูป มีมูลคา 933 ลานบาท สัดสวนรอยละ 16.87 และ ผลิตภัณฑอาหารพรอมรับประทาน มีมูลคา 618 ลาน บาท สัดสวนรอยละ 11.17 จากมูลคาของเงินลงทุนใน ภาคการผลิตทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวง ปลายป 2556 จะมีกําลังการผลิตสินคาเพื่อการบริโภค ในอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้นประมาณ 2.39 แสนตัน โดยแบงออกเปนผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลัง จะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 207,000 ตัน (ทั้งระบบกําลัง การผลิตอยูที่ 2.3 ลานตันตอป) ตามความตองการใช และมูลคาตลาดที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น สวนผลิตภัณฑบะหมี่ กึ่งสําเร็จรูป กําลังการผลิตจะเพิ่มขึ้น 25,000 ตัน (ทั้ง ระบบอยูที่ 1.6 แสนตันตอป) ขณะที่ผลิตภัณฑอาหาร พรอมรับประทาน จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น 7,000 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 3.2 แสนตันตอป) สําหรับการจาง งานพบวากลุมผลิตภัณฑบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปมีการจางงาน 515 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 31.83 รองลงมาคือ ผลิตภัณฑอาหารทะเลแชแข็ง มีการจางงาน 190 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 11.74 โดยเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่ จังหวัดระยอง ชลบุรีและสมุทรสาคร ตามลําดับ
Industry Overview
ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มในเดือนเมษายน 2556 ปรับตัว ลดลง เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตรา การใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 50.26 ปรับลดลงรอย ละ 9.10 อัตราขยายตัวของการใชกําลังการผลิตในกลุม ผลิตภัณฑที่สําคัญยังคงปรับตัวลดลง โดยมีสาเหตุมา จากปจจัยหลัก คือคําสั่งซื้อที่ชะลอตัวโดยเฉพาะในกลุม ลูกคาที่สําคัญทั้งจากสหภาพยุโรปที่มีปญหาภายในของ แตละประเทศที่มีสัดสวนหนี้สาธารณะและการขาดดุล งบประมาณอยูในเกณฑที่สูง ถึงขั้นที่สมาชิกในกลุมยูโร โซนตองลดการใชจายงบประมาณลงตามนโยบายแบบ รัดเข็มขัด ดานสหรัฐฯ ตัวเลขของการวางงานเริ่มทรง ตัวโดยอยูที่รอยละ 7.6 ในเดือนพฤษภาคม แตตัวเลข การใชจายเพื่อการบริโภคยังคงเพิ่มข้ึนไดไมดีเทาที่ควร ขณะที่การบริโภคในญี่ปุนก็ยังคงปรับเพ่ิมขึ้นไมมาก เชนเดียวกัน ถึงแมตัวเลขการใชจายเพื่อบริโภคจะปรับ เพิ่มขึ้นติดตอกันเปนเดือนที่ 4 ก็ตาม อีกทั้งความผัน ผวนของอัตราแลกเปลี่ยนก็ถือเปนอุปสรรคที่เพิ่มใหกับ ผูสงออกอีกทางหนึ่งดวย ดานสภาพอากาศที่แปรปรวน ก็ยังคงสรางความเสียหายใหกับผลผลิตทางการเกษตร และผัก/ผลไม รวมทั้งมีผลตอการเจริญเติบโตในกลุม ปศุสัตวและสัตวน้ํา จนระดับราคาวัตถุดิบในตลาดอยูใน เกณฑที่สูงขึ้นตอเนื่อง โดยในบางกลุมสินคาถึงขั้นขาด แคลนและตองนําเขาจากตางประเทศ และเมื่อพิจารณา ในกลุมสินคาที่มีอัตราการใชกําลังการผลิตในเดือน เมษายน 2556 ปรับตัวลดลง ไดแก ผลิตภัณฑปลา และกุง (กุงแชแข็ง -51.23), อาหารสัตว (อาหารกุง สําเร็จรูป -71.26), แปงมัน/กลูโคส (แปงมัน สําปะหลัง -26.60), ผลไม/ผักกระปอง (น้ําผลไม -47.48, สับปะรดกระปอง -19.91) และเนื้อไกแชแข็ง -12.03 ยกเวน ในกลุมผลิตภัณฑปลาทูนา/ปลา กระปอง (ปลาทูนากระปอง +21.18) และเครื่องปรุง รส (ซอสถั่วเหลือง,เตาเจี้ยว,ซีอิ้ว +9.08) ที่ภาคธุรกิจ ยังมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นตอเนื่อง แตอาจตองรับมือกับ ภาระตนทุนดานวัตถุดิบที่เพิ่มสูงขึ้น และตองมีการปรับ ราคาสินคาในตลาดเพื่อใหสอดคลองเชนกัน
download PDF ย้อนกลับ