กรกฎาคม 2556
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
กรกฎาคม 2556
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่ม
ในเดือนพฤษภาคม 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวน ทั้งสิ้น 13 โครงการ ดวยเงินลงทุนมีมูลคารวม 5,787 ลานบาท และการจาง งานจํานวน 5,270 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอน พบวาจํานวนโครงการไดปรับลดลงรอยละ 7.14 มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 18.59 และการจาง งานปรับลดลงรอยละ 20.78 เมื่อพิจารณาเปนรายเขต จะพบวาในเดือนพฤษภาคม 2556 เขตที่ 2 ปรับลดลง ทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน ขณะที่ใน เขตที่ 3 จํานวนโครงการและการจางงานไดปรับลดลง ยกเวนเงินลงทุนที่ปรับเพิ่มขึ้น สวนเขตที่ 1 เพิ่มขึ้นทั้ง จํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน โดยจังหวัด สมุทรปราการเปนเขตพื้นที่มีเงินลงทุนมากที่สุด สัดสวน รอยละ 50.67 โดยกลุมสินคาที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ไดแก แปงสาลี มีมูลคาอยูที่ 2,227 ลานบาท คิดเปน สัดสวนรอยละ 38.48 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมา คือแปงมันสําปะหลัง มีมูลคา 1,550 ลานบาท สัดสวน รอยละ 26.78 และอาหารแปรรูปจากเนื้อไก มีมูลคา 758 ลานบาท สัดสวนรอยละ 13.10 จากมูลคาของเงิน ลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวงตนป 2557 จะมีกําลังการผลิตสินคาเพื่อการบริโภคในอุตสาหกรรม อาหารปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 3.27 แสนตัน โดยแบง ออกเปนกลุมแปงสาลี จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นใน ระบบ 126,000 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิตอยูที่ 1.2 ลานตันตอป) ตามความตองการบริโภคและมูลคาตลาด ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น สวนกลุมแปงมันสําปะหลัง กําลังการ ผลิตจะเพิ่มขึ้น 114,000 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 2.3 ลาน ตันตอป) ขณะที่กลุมอาหารแปรรูปจากเนื้อไกจะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้น 87,000 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 5.2 แสน ตันตอป) สําหรับการจางงานพบวากลุมผลิตไกชําแหละ มีการจางงาน 3,258 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 61.82 รองลงมาคืออาหารแปรรูปจากเนื้อไก มีการจางงาน 1,063 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 20.17 ปรับเพิ่มขึ้น ในเขตพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาและสมุทรสาคร โดยมี สัดสวนรอยละ 83.04 และ 6.36
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
กรกฎาคม 2556
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่ม
ในเดือนพฤษภาคม 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวน ทั้งสิ้น 13 โครงการ ดวยเงินลงทุนมีมูลคารวม 5,787 ลานบาท และการจาง งานจํานวน 5,270 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอน พบวาจํานวนโครงการไดปรับลดลงรอยละ 7.14 มูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 18.59 และการจาง งานปรับลดลงรอยละ 20.78 เมื่อพิจารณาเปนรายเขต จะพบวาในเดือนพฤษภาคม 2556 เขตที่ 2 ปรับลดลง ทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน ขณะที่ใน เขตที่ 3 จํานวนโครงการและการจางงานไดปรับลดลง ยกเวนเงินลงทุนที่ปรับเพิ่มขึ้น สวนเขตที่ 1 เพิ่มขึ้นทั้ง จํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน โดยจังหวัด สมุทรปราการเปนเขตพื้นที่มีเงินลงทุนมากที่สุด สัดสวน รอยละ 50.67 โดยกลุมสินคาที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ไดแก แปงสาลี มีมูลคาอยูที่ 2,227 ลานบาท คิดเปน สัดสวนรอยละ 38.48 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมา คือแปงมันสําปะหลัง มีมูลคา 1,550 ลานบาท สัดสวน รอยละ 26.78 และอาหารแปรรูปจากเนื้อไก มีมูลคา 758 ลานบาท สัดสวนรอยละ 13.10 จากมูลคาของเงิน ลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวงตนป 2557 จะมีกําลังการผลิตสินคาเพื่อการบริโภคในอุตสาหกรรม อาหารปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 3.27 แสนตัน โดยแบง ออกเปนกลุมแปงสาลี จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นใน ระบบ 126,000 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิตอยูที่ 1.2 ลานตันตอป) ตามความตองการบริโภคและมูลคาตลาด ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น สวนกลุมแปงมันสําปะหลัง กําลังการ ผลิตจะเพิ่มขึ้น 114,000 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 2.3 ลาน ตันตอป) ขณะที่กลุมอาหารแปรรูปจากเนื้อไกจะมีกําลัง การผลิตเพิ่มขึ้น 87,000 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 5.2 แสน ตันตอป) สําหรับการจางงานพบวากลุมผลิตไกชําแหละ มีการจางงาน 3,258 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 61.82 รองลงมาคืออาหารแปรรูปจากเนื้อไก มีการจางงาน 1,063 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 20.17 ปรับเพิ่มขึ้น ในเขตพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาและสมุทรสาคร โดยมี สัดสวนรอยละ 83.04 และ 6.36
ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มในเดือนพฤษภาคม 2556 ปรับตัว ลดลง เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตรา การใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 53.00 ปรับลดลงรอย ละ 15.50 อัตราขยายตัวของการใชกําลังการผลิตใน กลุมผลิตภัณฑที่สําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องเปน เดือนที่ 4 ติดตอกัน สาเหตุสําคัญมาจาก 3 ปจจัยหลัก คือ 1. ตนทุนวัตถุดิบในกลุมสินคาสําคัญไดแก พืชผล การเกษตร สัตวน้ํา เนื้อสัตว ผัก/ผลไม เครื่องปรุงรส และผลิตภัณฑนม ไดปรับเพิ่มสูงขึ้นทั้งจากสภาพอากาศ ที่ไมเอื้ออํานวยและความตองการในตลาดที่มีเพิ่มมาก ขึ้น จนสงผลกระทบตอตนทุนภาคการผลิตใหเพิ่มสูงขึ้น 2. คาแรงงานภาคการผลิตที่ไดปรับเพิ่มขึ้นจากชวงกอน หนา ยังคงเปนภาระตนทุนที่ภาคธุรกิจยังคงตองแบกรับ ยิ่งในชวงที่ราคาวัตถุดิบปรับตัวสูงขึ้น หากแตภาคธุรกิจ จะตองพยายามเพิ่มประสิทธิภาพของแรงงานใหสูงขึ้น ไดเทากับอัตราคาจางที่ไดจายไป 3. ความผันผวนของ คาเงินบาท ถือเปนอุปสรรคตอผูสงออกของไทยและ สรางความยากลําบากที่จะรับคําสั่งซื้อท่ีมีตลอดชวง ระยะเวลาที่ผานมาได และยิ่งเสี่ยงตอการไดรับเงินกลับ คาสินคาที่ปรับลดลง นอกจากนี้ สภาวะทางเศรษฐกิจ และนโยบายการคลังของประเทศในกลุมลูกคาที่สําคัญ ทั้งจากยุโรป สหรัฐอเมริกาและญี่ปุน จะเปนตัวสะทอน ภาพที่ชัดเจนสําหรับการสงออกของไทยในปจจุบัน และ เมื่อพิจารณาในกลุมสินคาที่มีอัตราการใชกําลังการผลิต ในเดือนพฤษภาคม 2556 ลดลง ไดแก ผลิตภัณฑปลา และกุง (กุงแชแข็ง -63.17), ผลไม/ผักกระปอง (น้ํา ผลไม -45.38, สับปะรดกระปอง -39.40), อาหาร สัตว (กุง -75.59, ไก -20.17), แปงมัน/กลูโคส (แปงมันสําปะหลัง -25.61) และเนื้อไกแชแข็ง/แชเย็น -17.29 ยกเวน ในกลุมน้ําตาลทรายขาว +39.90, ทูนา กระปอง +17.57, และเครื่องปรุงรส (ซอสถั่วเหลือง, เตาเจี้ยว,ซีอิ้ว +5.29) ที่ยังคงมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น แตความเสี่ยงที่ภาคธุรกิจยังตองเผชิญอยู ทั้งระดับราคา วัตถุดิบ คาจางแรงงานและความผันผวนของคาเงินบาท จะยิ่งทําใหตองมีการปรับแผนการผลิตใหเหมาะสม
download PDF ย้อนกลับ