สิงหาคม 2556
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
สิงหาคม 2556
Investment
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนมิถุนายน 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 5 โครงการ ดวย เงินลงทุนมีมูลคารวม 1,631 ลานบาท และการจางงาน จํานวน 1,415 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน พบวาจํานวนโครงการปรับลดลงรอยละ 54.55 มูลคาเงินลงทุนปรับลดลงรอยละ 61.85 และการจางงานปรับ ลดลงรอยละ 8.65 เมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะพบวาใน เดือนมิถุนายน 2556 เขตที่ 1 ไมพบโครงการอนุมัติให การสงเสริม โดยเขตที่ 2 ปรับลดลงทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน ในขณะที่เขตที่ 3 เงินลงทุน และการจางงานไดปรับเพิ่มขึ้น ยกเวนจํานวนโครงการที่ ไดปรับลดลง โดยจังหวัดฉะเชิงเทราเปนเขตพื้นที่ที่มี เงินลงทุนมากสุด สัดสวนรอยละ 36.78 โดยกลุมสินคา ที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ไดแก แปงสาลี มีมูลคาอยูที่ 600 ลานบาท คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 36.78 ของเงิน ลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือผัก Hydroponics มีมูลคา 572 ลานบาท สัดสวนรอยละ 35.06 และน้ํามันรําขาว บริสุทธิ์ มีมูลคา 400 ลานบาท สัดสวนรอยละ 24.52 จากมูลคาของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําให ในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2557 จะมีกําลังการผลิต สินคาเพื่อการบริโภคในอุตสาหกรรมอาหารปรับเพิ่มขึ้น ประมาณ 1.37 แสนตัน โดยแบงออกเปนกลุมสินคา แปงสาลี จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 99,750 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิตอยูที่ 1.2 ลานตันตอป) จากความตองการบริโภคและมูลคาตลาดที่ขยายตัว สวนกลุมสินคาผัก Hydroponics กําลังการผลิตจะ เพิ่มขึ้น 15,000 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 5 หมื่นตันตอป) ขณะที่กลุมสินคาน้ํามันรําขาวบริสุทธิ์จะมีกําลังการผลิต เพิ่มขึ้น 22,275 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 2.1 แสนตันตอป) สําหรับการจางงานพบวากลุมสินคาผัก Hydroponics มี การจางงานจํานวน 1,109 คน คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 78.37 รองลงมาคือเสนกวยเตี๋ยวอบแหง มีการจางงาน 180 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 12.72 โดยการจางงาน ไดปรับเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรีและแพร ตามลําดับ
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
สิงหาคม 2556
Investment
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนมิถุนายน 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 5 โครงการ ดวย เงินลงทุนมีมูลคารวม 1,631 ลานบาท และการจางงาน จํานวน 1,415 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน พบวาจํานวนโครงการปรับลดลงรอยละ 54.55 มูลคาเงินลงทุนปรับลดลงรอยละ 61.85 และการจางงานปรับ ลดลงรอยละ 8.65 เมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะพบวาใน เดือนมิถุนายน 2556 เขตที่ 1 ไมพบโครงการอนุมัติให การสงเสริม โดยเขตที่ 2 ปรับลดลงทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุนและการจางงาน ในขณะที่เขตที่ 3 เงินลงทุน และการจางงานไดปรับเพิ่มขึ้น ยกเวนจํานวนโครงการที่ ไดปรับลดลง โดยจังหวัดฉะเชิงเทราเปนเขตพื้นที่ที่มี เงินลงทุนมากสุด สัดสวนรอยละ 36.78 โดยกลุมสินคา ที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ไดแก แปงสาลี มีมูลคาอยูที่ 600 ลานบาท คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 36.78 ของเงิน ลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือผัก Hydroponics มีมูลคา 572 ลานบาท สัดสวนรอยละ 35.06 และน้ํามันรําขาว บริสุทธิ์ มีมูลคา 400 ลานบาท สัดสวนรอยละ 24.52 จากมูลคาของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําให ในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2557 จะมีกําลังการผลิต สินคาเพื่อการบริโภคในอุตสาหกรรมอาหารปรับเพิ่มขึ้น ประมาณ 1.37 แสนตัน โดยแบงออกเปนกลุมสินคา แปงสาลี จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 99,750 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิตอยูที่ 1.2 ลานตันตอป) จากความตองการบริโภคและมูลคาตลาดที่ขยายตัว สวนกลุมสินคาผัก Hydroponics กําลังการผลิตจะ เพิ่มขึ้น 15,000 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 5 หมื่นตันตอป) ขณะที่กลุมสินคาน้ํามันรําขาวบริสุทธิ์จะมีกําลังการผลิต เพิ่มขึ้น 22,275 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 2.1 แสนตันตอป) สําหรับการจางงานพบวากลุมสินคาผัก Hydroponics มี การจางงานจํานวน 1,109 คน คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 78.37 รองลงมาคือเสนกวยเตี๋ยวอบแหง มีการจางงาน 180 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 12.72 โดยการจางงาน ไดปรับเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรีและแพร ตามลําดับ
Investment Overview
ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มในเดือนมิถุนายน 2556 ปรับตัว ลดลง เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตรา การใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 48.96 ปรับลดลงรอย ละ 15.11 อัตราขยายตัวของการใชกําลังการผลิตใน กลุมผลิตภัณฑที่สําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องเปน เดือนที่ 5 ติดตอกัน โดยแบงออกเปนกลุมสินคาที่ สําคัญ ไดแก 1. กุงขาวแวนนาไม เนื่องดวยผลผลิตที่ได จากการเพาะเลี้ยงยังคงมีปริมาณไมเพียงพอในตลาด (กุงแชแข็ง -58.93) เนื่องจากยังอยูในชวงการฟนฟู และเพาะพันธุลูกกุงใหมีความแข็งแรงเพิ่มมากขึ้น อีก ทั้งเกษตรกรผูเลี้ยงกุงตองการความมั่นใจตอการ เพาะเลี้ยง หากมีการลงทุนเพาะเลี้ยงครั้งใหม โดยความ ตองการบริโภคในตลาดหลักทั้งญี่ปุนและสหรัฐฯ ยังคง มีเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง ทําใหระดับราคาสินคากุง ขาวปรับเพิ่มสูงขึ้นในตลาด 2. อาหารกุงสําเร็จรูป เหตุ จากการปรับลดปริมาณการเพาะเลี้ยงกุงขาวลง ไดสงผล ตอปริมาณการใชอาหารสัตวดังกลาวใหปรับลดลงตาม (อาหารกุงสําเร็จรูป -72.17) 3. เนื้อไกแชแข็ง จาก การระบาดของโรคไขหวัดนกสายพันธุใหมซึ่งพัฒนาจาก สายพันธุเดิมเปน H7N9 โดยมีการระบาดเกิดขึ้นใน ประเทศจีนและกัมพูชา ไดกลายเปนปจจัยสําคัญสําหรับ ลูกคาตางประเทศที่สําคัญและตองการนําเขาไกสดแช แข็งอยางเชน ญี่ปุน ซึ่งทําใหสถานการณการสงออกของ ไทยตองชะลอตัว (เนื้อไกแชแข็ง -29.32) ลงเนื่องจาก ลูกคาไมมั่นใจกับสถานการณที่เกิดขึ้น 4. เครื่องปรุงรส ภาวะฝนที่ตกหนักในชวงที่ผานมา ไดสงผลใหวัตถุดิบที่ สําคัญเกิดความเสียหายจากความชื้นท่ีมีมากเกิน และ ยิ่งทําใหวัตถุดิบที่เขาสูตลาดปรับลดลงและมีระดับราคา ที่ปรับเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งมีผลตอภาคการผลิตใหมีการปรับ ลดกําลังการผลิตลง (น้ําปลา -6.24) และสําหรับกลุม สินคาที่มีอัตราการใชกําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้นในเดือน มิถุนายน 2556 ไดแก ผลิตภัณฑผลไม/ผักกระปอง (สับปะรดกระปอง +21.48, น้ําผลไม +11.09), ผลิตภัณฑทูนา/ปลากระปอง (ทูนากระปอง +15.83), และแปงมัน/กลูโคส (แปงมันสําปะหลัง +2.54)
download PDF ย้อนกลับ