กันยายน 2556
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
กันยายน 2556
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนกรกฎาคม 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัตใิหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 6 โครงการ ดวย เงินลงทุนมีมูลคารวม 1,326 ลานบาท และการจางงาน จํานวน 686 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน พบวาทั้งจํานวนโครงการ มูลคาเงินลงทุนและการจาง งานไดปรับลดลงรอยละ 81.82, 42.99 และ 395.29 ตามลําดับ เมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะพบวาในเดือน กรกฎาคม 2556 ในเขตที่ 1 ไมพบโครงการอนุมัติให การสงเสริมการลงทุน ในขณะที่ เขตที่ 2 และ 3 ไดปรับ ลดลงทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุน และการจางงาน ซึ่ง ถือเปนการปรับลดลงทั้ง 3 เขตและเปนเดือนแรกของป 2556 โดยมีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปนเขตพื้นที่ที่มี เงินลงทุนมากที่สุด สัดสวนรอยละ 40.36 สําหรับกลุม สินคาที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ไดแก เสนกวยเตี๋ยว/เสน หมี่อบแหง มีมูลคาอยูที่ 535 ลานบาท คิดเปนสัดสวน ถึงรอยละ 40.36 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือไข ไก มีมูลคา 371 ลานบาท สัดสวนรอยละ 27.99 และ ผลิตภัณฑนม มีมูลคา 200 ลานบาท สัดสวนรอยละ 15.09 และจากมูลคาของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะ มีผลทําใหในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2557 มีกําลังการ ผลิตสินคาเพื่อการบริโภคในกลุมอุตสาหกรรมอาหาร ปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 4.7 หมื่นตัน โดยแบงออกเปน กลุมสินคาเสนกวยเตี๋ยว/เสนหมี่อบแหง จะมีกําลังการ ผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 5,250 ตัน (ทั้งระบบกําลังการ ผลิตอยูที่ 2.5 หมื่นตันตอป) ดวยความตองการบริโภค ที่เพิ่มขึ้นและมูลคาตลาดที่ขยายตัว, กลุมสินคาไขไก กําลังการผลิตจะปรับเพิ่มขึ้น 12,390 ตัน (ทั้งระบบอยู ที่ 7.7 แสนตันตอป) และกลุมสินคาผลิตภัณฑนมจะมี กําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 29,880 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 1 ลานตันตอป) สําหรับการจางงานจะพบวากลุมสินคา เสนกวยเตี๋ยว/เสนหมี่อบแหง มีการจางงานจํานวน 360 คน คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 52.48 รองลงมาคือ ผลิตภัณฑนม มีการจางงาน 142 คน คิดเปนสัดสวน รอยละ 20.70 การจางงานไดปรับเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่ จงัหวัดพระนครศรีอยุธยาและนครราชสีมา ตามลําดับ
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
กันยายน 2556
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนกรกฎาคม 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัตใิหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 6 โครงการ ดวย เงินลงทุนมีมูลคารวม 1,326 ลานบาท และการจางงาน จํานวน 686 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน พบวาทั้งจํานวนโครงการ มูลคาเงินลงทุนและการจาง งานไดปรับลดลงรอยละ 81.82, 42.99 และ 395.29 ตามลําดับ เมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะพบวาในเดือน กรกฎาคม 2556 ในเขตที่ 1 ไมพบโครงการอนุมัติให การสงเสริมการลงทุน ในขณะที่ เขตที่ 2 และ 3 ไดปรับ ลดลงทั้งจํานวนโครงการ เงินลงทุน และการจางงาน ซึ่ง ถือเปนการปรับลดลงทั้ง 3 เขตและเปนเดือนแรกของป 2556 โดยมีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปนเขตพื้นที่ที่มี เงินลงทุนมากที่สุด สัดสวนรอยละ 40.36 สําหรับกลุม สินคาที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ไดแก เสนกวยเตี๋ยว/เสน หมี่อบแหง มีมูลคาอยูที่ 535 ลานบาท คิดเปนสัดสวน ถึงรอยละ 40.36 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือไข ไก มีมูลคา 371 ลานบาท สัดสวนรอยละ 27.99 และ ผลิตภัณฑนม มีมูลคา 200 ลานบาท สัดสวนรอยละ 15.09 และจากมูลคาของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะ มีผลทําใหในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2557 มีกําลังการ ผลิตสินคาเพื่อการบริโภคในกลุมอุตสาหกรรมอาหาร ปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 4.7 หมื่นตัน โดยแบงออกเปน กลุมสินคาเสนกวยเตี๋ยว/เสนหมี่อบแหง จะมีกําลังการ ผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 5,250 ตัน (ทั้งระบบกําลังการ ผลิตอยูที่ 2.5 หมื่นตันตอป) ดวยความตองการบริโภค ที่เพิ่มขึ้นและมูลคาตลาดที่ขยายตัว, กลุมสินคาไขไก กําลังการผลิตจะปรับเพิ่มขึ้น 12,390 ตัน (ทั้งระบบอยู ที่ 7.7 แสนตันตอป) และกลุมสินคาผลิตภัณฑนมจะมี กําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 29,880 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 1 ลานตันตอป) สําหรับการจางงานจะพบวากลุมสินคา เสนกวยเตี๋ยว/เสนหมี่อบแหง มีการจางงานจํานวน 360 คน คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 52.48 รองลงมาคือ ผลิตภัณฑนม มีการจางงาน 142 คน คิดเปนสัดสวน รอยละ 20.70 การจางงานไดปรับเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่ จงัหวัดพระนครศรีอยุธยาและนครราชสีมา ตามลําดับ
Industry Overview
ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มในเดือนกรกฎาคม 2556 ปรับตัว ลดลง เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตรา การใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 48.33 ปรับลดลงรอย ละ 16.56 อัตราขยายตัวของการใชกําลังการผลิตใน กลุมผลิตภัณฑที่สําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องเปน เดือนที่ 6 ติดตอกัน โดยเฉพาะในกลุมสินคาที่สําคัญ ไดแก 1. กุงขาว เหตุจากโรคตายดวนที่เกิดขึ้นยังคง สงผลตอเนื่องใหผลผลิตที่ไดจากการเพาะเลี้ยงยังคงมี ปริมาณลดลง ขณะที่สภาพตลาดมีความตองการสูงแตผู สงออกของไทยไมสามารถสงสนิคาตามความตองการได ทงั้หมด จึงทาํใหอินเดียและเวียดนามตางไดรับอานิสงส ในสวนแบงตลาดของไทย ดวยความพยายามที่จะไมให เสียสวนแบงตลาดของผูสงออกไทย ทําใหผูผลิตและ แปรรูปของไทยหันไปนําเขากุงขาวจากตางประเทศ โดย ประเทศที่นําเขามากสุดคืออินเดีย มูลคานําเขาเดือน ก.ค. 56=247 ลานบาท รองลงมาคือเอกวาดอร มูลคา นาํเขา=29 ลานบาท และเวียดนาม มูลคานําเขา=4 ลาน บาท ปริมาณผลผลิตที่เริ่มมีมากขึ้น นับวายังไมเพียงพอ ตอภาคการผลิตใหกลับเปนบวก (กุงแชแข็ง -51.08) 2. อาหารกุงสําเร็จรูป ผลสืบเนื่องจากความไมมั่นใจกับ ปญหาโรคตายดวนที่เกิดขึ้น ทําใหเกษตรกรผูเพาะเลี้ยง กุงขาวสวนใหญยังคงชะลอการเพาะเลี้ยง โดยบางสวน หันไปเลี้ยงปลาทดแทน (อาหารกุงสําเร็จรูป -68.63) 3. เนื้อไกแชแข็ง ปริมาณผลผลิตในตลาดที่มียังถือวา ไมเพียงพอกับภาคการผลิตที่มีความตองการ จนถึงขั้น เกิดการขาดแคลนบางพื้นที่ เมื่อเทียบกับคําสั่งซื้อที่เพิ่ม มากขึ้น โดยเฉพาะญี่ปุนและยุโรป จนเปนปจจัยสงผล ใหระดับราคาวัตถุดิบปรับเพิ่มสูงขึ้น (เนื้อไกแชแข็ง -26.24) 4. มันสําปะหลัง ผลผลิตที่ไดปรับลดลงดวย เหตุจากชวงฤดูกาลและภาวะฝนที่ตกหนักติดตอกัน ประกอบกับโรคที่เกิดขึ้นจากความชื้น ไดสรางความ เสียหายใหกับผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได จนมีปริมาณปรับ ลดลงในชวงเดือน ก.ค. 56 ทําใหมีผลผลิตเขาสูโรงงาน ลดลงตาม อีกทั้งระดับราคาไดปรับเพิ่มสูงขึ้นจากความ ตองการของตลาดที่มี (แปงมนัสําปะหลัง -11.51)
download PDF ย้อนกลับ