สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนตุลาคม 2556

ตุลาคม 2556

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  ตุลาคม 2556

 

ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนสิงหาคม 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัตใิหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 6 โครงการ ดวย เงินลงทุนมีมูลคารวม 9,994 ลานบาท และการจางงาน จํานวน 4,938 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน พบวาจํานวนโครงการและการจางงานไดปรับลดลงรอย ละ 64.71 และ 37.31 แตมูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้น รอยละ 148.55 เมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะพบวาใน เดือนสิงหาคม 2556 ทั้งเขตที่ 1 และ 2 ไดปรับเพิ่มขึ้น ทั้งมลูคาเงินลงทุนและการจางงาน ในขณะที่เขตที่ 3 ไม พบโครงการอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุนแตอยางใด โดยมีจังหวัดสระบุรีเปนเขตพื้นที่ที่มีเงินลงทุนมากที่สุด สัดสวนรอยละ 53.38 สําหรับกลุมสินคาที่มีเงินลงทุน มากที่สุด ไดแก เครื่องดื่มน้ําพืช ผักและผลไม มีมูลคา อยูที่ 8,591 ลานบาท คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 85.96 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือสิ่งปรุงแตงอาหาร จากถั่วเหลือง มีมูลคา 841 ลานบาท สัดสวนรอยละ 8.42 และไกสดแชแข็ง มีมูลคา 562 ลานบาท สัดสวน รอยละ 5.62 และจากมูลคาของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุม สินคา จะมีผลทําใหในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2557 มี กําลังการผลิตสินคาเพื่อการบริโภคในกลุมอุตสาหกรรม อาหารปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 8.1 แสนตัน โดยแบง ออกเปนกลุมสินคาเครื่องดื่มน้ําพืช ผักและผลไม จะมี กําลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 647,400 ตัน (ทั้งระบบ กําลังการผลิตอยูที่ 3.2 แสนตันตอป) จากแนวโนมการ รักสุขภาพของผูบริโภคมีเพิ่มมากขึ้น ทําใหมูลคาตลาด ขยายตัวเพิ่มขึ้นตาม, สิ่งปรุงแตงอาหารจากถั่วเหลืองจะ มีกําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 26,625 ตัน (ทั้งระบบอยู ที่ 4.1 แสนตันตอป) และกลุมสินคาไกสดแชแข็งจะมี กําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 29,880 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 1.3 ลานตันตอป) สําหรับการจางงานพบวากลุมสินคา ไกสดแชแข็ง มีการจางงานจํานวน 3,709 คน คิดเปน สัดสวนถึงรอยละ 75.11 รองลงมาคือเครื่องดื่มน้ําพืช ผักและผลไม มีการจางงาน 1,030 คน คิดเปนสัดสวน รอยละ 20.86 และไดปรับเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัด นครปฐมและกรุงเทพฯ ตามลําดับ

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  ตุลาคม 2556

 

ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนสิงหาคม 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัตใิหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 6 โครงการ ดวย เงินลงทุนมีมูลคารวม 9,994 ลานบาท และการจางงาน จํานวน 4,938 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน พบวาจํานวนโครงการและการจางงานไดปรับลดลงรอย ละ 64.71 และ 37.31 แตมูลคาเงินลงทุนปรับเพิ่มขึ้น รอยละ 148.55 เมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะพบวาใน เดือนสิงหาคม 2556 ทั้งเขตที่ 1 และ 2 ไดปรับเพิ่มขึ้น ทั้งมลูคาเงินลงทุนและการจางงาน ในขณะที่เขตที่ 3 ไม พบโครงการอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุนแตอยางใด โดยมีจังหวัดสระบุรีเปนเขตพื้นที่ที่มีเงินลงทุนมากที่สุด สัดสวนรอยละ 53.38 สําหรับกลุมสินคาที่มีเงินลงทุน มากที่สุด ไดแก เครื่องดื่มน้ําพืช ผักและผลไม มีมูลคา อยูที่ 8,591 ลานบาท คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 85.96 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคือสิ่งปรุงแตงอาหาร จากถั่วเหลือง มีมูลคา 841 ลานบาท สัดสวนรอยละ 8.42 และไกสดแชแข็ง มีมูลคา 562 ลานบาท สัดสวน รอยละ 5.62 และจากมูลคาของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุม สินคา จะมีผลทําใหในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2557 มี กําลังการผลิตสินคาเพื่อการบริโภคในกลุมอุตสาหกรรม อาหารปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 8.1 แสนตัน โดยแบง ออกเปนกลุมสินคาเครื่องดื่มน้ําพืช ผักและผลไม จะมี กําลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 647,400 ตัน (ทั้งระบบ กําลังการผลิตอยูที่ 3.2 แสนตันตอป) จากแนวโนมการ รักสุขภาพของผูบริโภคมีเพิ่มมากขึ้น ทําใหมูลคาตลาด ขยายตัวเพิ่มขึ้นตาม, สิ่งปรุงแตงอาหารจากถั่วเหลืองจะ มีกําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 26,625 ตัน (ทั้งระบบอยู ที่ 4.1 แสนตันตอป) และกลุมสินคาไกสดแชแข็งจะมี กําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 29,880 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 1.3 ลานตันตอป) สําหรับการจางงานพบวากลุมสินคา ไกสดแชแข็ง มีการจางงานจํานวน 3,709 คน คิดเปน สัดสวนถึงรอยละ 75.11 รองลงมาคือเครื่องดื่มน้ําพืช ผักและผลไม มีการจางงาน 1,030 คน คิดเปนสัดสวน รอยละ 20.86 และไดปรับเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัด นครปฐมและกรุงเทพฯ ตามลําดับ

 

          ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มในเดือนสิงหาคม 2556 ปรับตัว ลดลง เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตรา การใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 48.37 ปรับลดลงรอย ละ 14.61 อัตราขยายตัวของการใชกําลังการผลิตใน กลุมผลิตภัณฑที่สําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องเปน เดือนที่ 7 ติดตอกัน โดยเฉพาะในกลุมสินคาที่สําคัญ ไดแก 1. กุงขาว ดวยปริมาณวัตถุดิบที่ลดลงและยังไมมี แนวโนมที่จะเพิ่มขึ้นในตลาด ทาํใหสถานการณการผลิต กุงขาวของไทยมีระดับการใชกําลังการผลิตใกลเคียงกับ เดือนที่ผานมา ความตองการบริโภคที่เพิ่มขึ้นตอเนื่อง ในกลุมประเทศนําเขาที่สําคัญ ถือเปนปจจัยที่ภาคธุรกิจ ตองพยายามแสวงหาวัตถุดิบเพื่อเขาสูกระบวนการผลิต ใหทันและมีสินคาเพื่อสงมอบใหกับลูกคามากที่สุด และ เพื่อปองกันการสูญเสียสวนแบงตลาดที่สําคัญใหอินเดีย และเวียดนาม ซึ่งถือเปนโจทยสําคัญที่ภาคธุรกิจจะตอง เผชิญจากปจจัยภายนอก หากแตปจจัยภายในเกี่ยวกับ การระบาดโรคตายดวนในไทยยังถือเปนอุปสรรคสําคัญ เชนกัน (กุงแชแข็ง -48.97) 2. อาหารกุงสําเร็จรูป ดวยกําลังการผลิตที่ปรับตวัลดลงตอเนื่องติดตอกัน จาก ความตองการใชในกลุมเกษตรกรผูเพาะเลี้ยงกุงที่ยังคง ปรับตวัลดลง ซงึ่โดยสวนใหญยังคงรอระยะเวลาที่มั่นใจ ตอการเพาะเลี้ยงกุงรอบใหมจากโรคตายดวนในชวงที่ ผานมา (อาหารกุงสาํเร็จรูป -61.40) 3. เนื้อไกแชแข็ง วัตถุดิบในตลาดยังคงปรับตัวลดลงและราคาปรับเพิ่ม สูงขึ้น เนื่องดวยโรงงานเลี้ยงไกอยูในชวงหยุดพักและรอ ระยะเวลาการเลี้ยงรอบใหม ซึ่งจะใชเวลาประมาณ 6090 วัน อีกทั้งตองเฝาระวังโรคระบาดที่จะมากับฝนที่ตก หนัก ทาํใหกาํลังการผลิตปรับลดลงตอเนื่อง (เนื้อไกแช แข็ง -19.22) 4. ทูนาแปรรูป กําลังการผลิตปรับลดลง เนื่องดวยความไมเชื่อมั่นในสภาพเศรษฐกิจในตลาดทั้ง สหรัฐฯ และยุโรป ทําใหผูบริโภคปรับลดคาใชจายเพื่อ การบริโภคที่ไมจําเปนลง คําสั่งซื้อจึงปรับตัวลดลงตาม จึงทําใหผูผลิตและแปรรูปตองปรับลดกําลังการผลิต เพื่อใหสอดคลองกับความตองการของตลาด (ทูนา กระปอง -13.75)

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ติดต่อสอบถามข้อมูล ต่อ 3122 ติดต่อสมาชิกสถาบันอาหาร ต่อ 8101