พฤศจิกายน 2556
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
พฤศจิกายน 2556
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนกันยายน 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 13 โครงการ ดวยเงินลงทุนมีมลูคารวม 7,118 ลานบาท และการจาง งานจํานวน 8,857 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอน พบวาทั้งจํานวนโครงการอนุมัติ มูลคาเงินลงทุน และการจางงานไดปรับตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 8.33, 6.91 และ 94.74 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะ พบวา ในเขตที่ 1 มีมูลคาเงินลงทุนและการจางงานปรับ เพิ่มขึ้น ในขณะที่ในเขตที่ 2 และ 3 มีการจางงานปรับ เพิ่มขึ้น แตมูลคาเงินลงทุนปรับลดลง โดยจังหวัด สมุทรสาครถือเปนเขตพื้นที่ที่มีเงินลงทุนมากที่สุด มี สัดสวนรอยละ 55.20 สําหรับกลุมสินคาที่มีเงินลงทุน มากที่สุด ไดแก อาหารสําเร็จรูปแชแข็ง มีมูลคาอยูที่ 2,532 ลานบาท คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 35.57 ของ เงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคืออาหารกึ่งสําเร็จรูปแช แข็ง มีมูลคา 1,397 ลานบาท สัดสวนรอยละ 19.63 และเบเกอรี่ มีมูลคา 1,192 ลานบาท สัดสวนรอยละ 16.75 และจากมูลคาของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะ มีผลทําใหในชวงไตรมาสที่ 3 ของป 2557 มีกําลังการ ผลิตสินคาเพื่อการบริโภคในกลุมอุตสาหกรรมอาหาร ปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 2.1 แสนตัน โดยแบงออกเปน กลุมสินคาอาหารสําเร็จรูปแชแข็ง จะมีกําลังการผลิต เพิ่มขึ้นในระบบ 155,250 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิต อยูที่ 9.7 แสนตันตอป) ดวยความสะดวกและรวดเร็ว ในการบริโภคที่มีเพิ่มมากขึ้น ทําใหมูลคาตลาดขยายตัว เพิ่มขึ้น, อาหารกึ่งสําเร็จรูปแชแข็งจะมีกําลังการผลิต ปรับเพิ่มขึ้น 37,500 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 6.5 แสนตัน ตอป) และกลุมเบเกอรี่จะมีกําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 21,180 ตัน (ทงั้ระบบอยูที่ 1.5 แสนตันตอป) สําหรับ การจางงานพบวากลุมสินคาอาหารสําเร็จรูปแชแข็ง มี การจางงานมากที่สุดจํานวน 3,950 คน คิดเปนสัดสวน ถึงรอยละ 44.60 รองลงมาคือเครื่องดื่มน้ําพืช ผักและ ผลไม มีการจางงาน 1,028 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 11.61 โดยปรับเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร และสมุทรสงคราม ตามลําดับ
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
พฤศจิกายน 2556
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนกันยายน 2556 มีโครงการที่ไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 13 โครงการ ดวยเงินลงทุนมีมลูคารวม 7,118 ลานบาท และการจาง งานจํานวน 8,857 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอน พบวาทั้งจํานวนโครงการอนุมัติ มูลคาเงินลงทุน และการจางงานไดปรับตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 8.33, 6.91 และ 94.74 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะ พบวา ในเขตที่ 1 มีมูลคาเงินลงทุนและการจางงานปรับ เพิ่มขึ้น ในขณะที่ในเขตที่ 2 และ 3 มีการจางงานปรับ เพิ่มขึ้น แตมูลคาเงินลงทุนปรับลดลง โดยจังหวัด สมุทรสาครถือเปนเขตพื้นที่ที่มีเงินลงทุนมากที่สุด มี สัดสวนรอยละ 55.20 สําหรับกลุมสินคาที่มีเงินลงทุน มากที่สุด ไดแก อาหารสําเร็จรูปแชแข็ง มีมูลคาอยูที่ 2,532 ลานบาท คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 35.57 ของ เงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคืออาหารกึ่งสําเร็จรูปแช แข็ง มีมูลคา 1,397 ลานบาท สัดสวนรอยละ 19.63 และเบเกอรี่ มีมูลคา 1,192 ลานบาท สัดสวนรอยละ 16.75 และจากมูลคาของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะ มีผลทําใหในชวงไตรมาสที่ 3 ของป 2557 มีกําลังการ ผลิตสินคาเพื่อการบริโภคในกลุมอุตสาหกรรมอาหาร ปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 2.1 แสนตัน โดยแบงออกเปน กลุมสินคาอาหารสําเร็จรูปแชแข็ง จะมีกําลังการผลิต เพิ่มขึ้นในระบบ 155,250 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิต อยูที่ 9.7 แสนตันตอป) ดวยความสะดวกและรวดเร็ว ในการบริโภคที่มีเพิ่มมากขึ้น ทําใหมูลคาตลาดขยายตัว เพิ่มขึ้น, อาหารกึ่งสําเร็จรูปแชแข็งจะมีกําลังการผลิต ปรับเพิ่มขึ้น 37,500 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 6.5 แสนตัน ตอป) และกลุมเบเกอรี่จะมีกําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 21,180 ตัน (ทงั้ระบบอยูที่ 1.5 แสนตันตอป) สําหรับ การจางงานพบวากลุมสินคาอาหารสําเร็จรูปแชแข็ง มี การจางงานมากที่สุดจํานวน 3,950 คน คิดเปนสัดสวน ถึงรอยละ 44.60 รองลงมาคือเครื่องดื่มน้ําพืช ผักและ ผลไม มีการจางงาน 1,028 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 11.61 โดยปรับเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร และสมุทรสงคราม ตามลําดับ
ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มในเดือนกันยายน 2556 ปรับตัว ลดลง เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตรา การใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 46.86 ปรับลดลงรอย ละ 12.69 อัตราขยายตัวของการใชกําลังการผลิตใน กลุมผลิตภัณฑที่สําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องเปน เดือนที่ 8 ติดตอกัน โดยเฉพาะในกลุมสินคาที่สําคัญ ไดแก 1. เนื้อไกแชแข็ง ดวยปริมาณวัตถุดิบปรับลดลง ในตลาดและในบางพื้นที่มไีมเพียงพอ สงผลทําใหระดับ ราคาปรับเพิ่มสูงขึ้นตอเนื่อง เปนอุปสรรคตอภาคธุรกิจ ในการควบคุมตนทุนการผลิตใหคงที่ สําหรับผูผลิตและ แปรรูปของไทยเพื่อสงออก โดยแนวโนมการบริโภคของ ลกูคาในตลาดยังคงปรับเพิ่มขึ้นไมมากนัก เมื่อพิจารณา จากภาวะทางเศรษฐกิจและราคาสินคาที่ปรับเพิ่มสูงขึ้น ในตลาด (เนื้อไกแชแข็ง -30.73) 2. กุงขาว ปริมาณ วัตถุดิบที่ลดลงและระดับราคาอยูในเกณฑสูงตอเนื่อง ยังคงเปนปจจัยสําคัญในผลิตและแปรรูปสินคาเพื่อ สงออกใหกับลูกคา ขณะที่สถานการณการผลิตกุงขาว ของไทยยังมีระดับการใชกําลังการผลิตใกลเคียงกับ เดือนกอน และเมื่อระดับราคาสินคาไดปรับเพิ่มขึ้นตาม ตนทุนการผลิตที่สูงขึ้น ทําใหผูสงออกของไทยพบกับ การตอรองราคาจากลูกคา ดวยเหตุผลความไมมั่นใจจน ทําใหเกิดกําลังซื้อของผูบริโภคในตลาดลดลง อุปสรรค ที่สําคัญอีกประการคือ แนวโนมขาดแคลนแรงงานใน ปจจุบัน เนื่องจากชวงกอนหนาที่เกิดวิกฤตไดสงผลให ภาคการผลิตตองปรับลดกําลังการผลิตลง (กุงแชแข็ง -33.11) 3. ทูนาแปรรูป วัตถุดบิเริ่มมีปริมาณเพิ่มมาก ขึ้น สะทอนภาพจากระดับราคาที่ลดลงซึ่งสงผลดีตอ ภาคการผลิตและแปรรูป แตในตลาดยังคงขาดความ เชื่อมั่นและยังไมมีปจจัยเสริมเพื่อกระตุนการบริโภคให เพิ่มมากขึ้น (ทูนากระปอง -19.05) 4. ผลไมและผัก กระปอง ผลกระทบจากสภาพอากาศที่แปรปรวนสงผล ใหผลผลิตที่ไดปรับลดลง และระดับราคาอยูในชวงเพิ่ม สูงขึ้น ยิ่งทําใหภาคการผลิตมีวัตถุดิบไมเพียงพอ โดยผู สงออกของไทยตองปรับราคาสินคาเพื่อสงออกเพิ่มขึ้น หากแตกลุมลูกคาสวนใหญก็มกีารตอรองราคาเชนกัน
download PDF ย้อนกลับ