ธันวาคม 2556
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
ธันวาคม 2556
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนตุลาคม 2556 มีโครงการไดรับอนุมัติ ใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งส้ิน 6 โครงการ ดวยเงิน ลงทุนมีมูลคารวม 4,611 ลานบาท และการจางงาน จํานวน 4,218 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน พบวาทั้งจํานวนโครงการอนุมัติและมูลคาเงินลงทุนได ปรับตัวลดลงรอยละ 40.00และ 5.28 ตามลําดับ แต การจางงานไดปรับตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 166.46 และเมื่อ พิจารณาเปนรายเขตจะพบวาในเขตท่ี 1 และ 2 ไมมี โครงการไดรับอนุมัติใหการสงเสริม ในขณะที่เขตที่ 3 มี มูลคาเงินลงทุนและการจางงานปรับเพิ่มขึ้น โดยจังหวัด ลพบุรีถือเปนเขตพื้นที่ที่มีเงินลงทุนมากที่สุด มีสัดสวน รอยละ 45.82 สําหรับกลุมสินคาที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ไดแก การผลิตไขไก มีมูลคาอยูที่ 2,113 ลานบาท คิด เปนสัดสวนถึงรอยละ 45.82 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคืออาหารทะเลสําเร็จรูป มีมูลคา 1,993 ลาน บาท สัดสวนรอยละ 43.21 และแปงมันสําปะหลัง มี มูลคา 500 ลานบาท สัดสวนรอยละ 10.84 และจาก มูลคาของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําให ในชวงไตรมาสที่ 3 ของป 2557 มีกําลังการผลิตสินคา เพื่อการบริโภคในกลุมอุตสาหกรรมอาหารปรับเพิ่มขึ้น ประมาณ 1.1 แสนตัน โดยแบงออกเปนกลุมสินคาไข ไก จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 9,049 ตัน (ทั้ง ระบบกําลังการผลิตอยูที่ 7.8 แสนตันตอป) ดวยความ ตองการบริโภคที่เพิ่มมากขึ้น ทําใหภาคการผลิตปรับตัว เพิ่มขึ้น, อาหารทะเลสําเร็จรูป จะมีกําลังการผลิตปรับ เพิ่มขึ้น 59,100 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 9.6 แสนตันตอป) และแปงมันสําปะหลัง จะมีกําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 45,000 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 2.4 ลานตันตอป) สําหรับ การจางงานพบวากลุมสินคาอาหารทะเลสําเร็จรูปมีการ จางงานมากที่สุดจํานวน 3,300 คน คิดเปนสัดสวนถึง รอยละ 78.24 รองลงมาคือสินคาไขไก มีการจางงาน 703 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 16.67 และแปงมัน สําปะหลัง มีการจางงาน 100 คน คิดเปนสัดสวนรอย ละ 2.37 โดยการจางงานปรับเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่ จังหวัดสงขลา ลพบุรี และนครราชสีมา ตามลําดับ
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
ธันวาคม 2556
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนตุลาคม 2556 มีโครงการไดรับอนุมัติ ใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งส้ิน 6 โครงการ ดวยเงิน ลงทุนมีมูลคารวม 4,611 ลานบาท และการจางงาน จํานวน 4,218 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน พบวาทั้งจํานวนโครงการอนุมัติและมูลคาเงินลงทุนได ปรับตัวลดลงรอยละ 40.00และ 5.28 ตามลําดับ แต การจางงานไดปรับตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 166.46 และเมื่อ พิจารณาเปนรายเขตจะพบวาในเขตท่ี 1 และ 2 ไมมี โครงการไดรับอนุมัติใหการสงเสริม ในขณะที่เขตที่ 3 มี มูลคาเงินลงทุนและการจางงานปรับเพิ่มขึ้น โดยจังหวัด ลพบุรีถือเปนเขตพื้นที่ที่มีเงินลงทุนมากที่สุด มีสัดสวน รอยละ 45.82 สําหรับกลุมสินคาที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ไดแก การผลิตไขไก มีมูลคาอยูที่ 2,113 ลานบาท คิด เปนสัดสวนถึงรอยละ 45.82 ของเงินลงทุนทั้งหมด รองลงมาคืออาหารทะเลสําเร็จรูป มีมูลคา 1,993 ลาน บาท สัดสวนรอยละ 43.21 และแปงมันสําปะหลัง มี มูลคา 500 ลานบาท สัดสวนรอยละ 10.84 และจาก มูลคาของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําให ในชวงไตรมาสที่ 3 ของป 2557 มีกําลังการผลิตสินคา เพื่อการบริโภคในกลุมอุตสาหกรรมอาหารปรับเพิ่มขึ้น ประมาณ 1.1 แสนตัน โดยแบงออกเปนกลุมสินคาไข ไก จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 9,049 ตัน (ทั้ง ระบบกําลังการผลิตอยูที่ 7.8 แสนตันตอป) ดวยความ ตองการบริโภคที่เพิ่มมากขึ้น ทําใหภาคการผลิตปรับตัว เพิ่มขึ้น, อาหารทะเลสําเร็จรูป จะมีกําลังการผลิตปรับ เพิ่มขึ้น 59,100 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 9.6 แสนตันตอป) และแปงมันสําปะหลัง จะมีกําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 45,000 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 2.4 ลานตันตอป) สําหรับ การจางงานพบวากลุมสินคาอาหารทะเลสําเร็จรูปมีการ จางงานมากที่สุดจํานวน 3,300 คน คิดเปนสัดสวนถึง รอยละ 78.24 รองลงมาคือสินคาไขไก มีการจางงาน 703 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 16.67 และแปงมัน สําปะหลัง มีการจางงาน 100 คน คิดเปนสัดสวนรอย ละ 2.37 โดยการจางงานปรับเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่ จังหวัดสงขลา ลพบุรี และนครราชสีมา ตามลําดับ
ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มในเดือนตุลาคม 2556 ปรับตัว ลดลง เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตรา การใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 49.86 ปรับลดลงรอย ละ 12.22 การเปลี่ยนแปลงของดัชนีอัตราการใชกําลัง การผลิตในกลุมสินคาสําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่อง เปนเดือนที่ 9 ติดตอกัน โดยเฉพาะในกลุมสินคา ไดแก 1. ผลไมและผักกระปอง (สับปะรดกระปอง -49.04% และน้ําผลไม -43.25%) สภาพอากาศที่มีฝนตกหนัก อันเนื่องมาจากพายุ สงผลตอปริมาณวัตถุดิบทําใหมีไม เพียงพอตอภาคการผลิต โดยเฉพาะกลุมสินคาสับปะรด กระปองและน้ําผลไม อีกทั้งยังสงผลตอระดับราคาให ปรับเพิ่มสูงขึ้น ดานคําสั่งซื้อที่มีเขามาเริ่มชะลอตัวลง ตามความไมมั่นใจตอการจับจายใชสอย เมื่อเขาสูเดือน แรกของชวงไตรมาสสุดทายของป ซึ่งไมสอดคลองกับ ความคึกคักในชวงเดียวกันของปกอน 2. เนื้อไกแช แข็ง/แชเย็น ปริมาณวัตถุดิบในตลาดยังคงมีไมเพียงพอ ตอภาคการผลิต อัตราการใชกําลังการผลิตจึงปรับลดลง (เนื้อไกแชแข็ง/แชเย็น -25.53%) ขณะที่ระดับราคา อยูในเกณฑสูงตอเนื่องและถือเปนปจจัยที่สงผลกระทบ ตอภาคธุรกิจในการผลิตและแปรรูปสินคาเพื่อสงออก ใหกับลูกคา โดยคําสั่งซื้อของกลุมสินคาไกแปรรูปยังคง มีอยางตอเนื่อง ซึ่งถือเปนชวงที่ดีสําหรับผูสงออกของ ไทย หากแตตองเผชิญกับการตอรองของลูกคาจากราคา ที่ตองปรับขึ้น 3. ผลิตภัณฑกุงขาว การนําเขาวัตถุดิบ เพื่อผลิตและแปรรูปสะทอนภาพปริมาณที่มีไมเพียงพอ กับวัตถุดิบภายในประเทศที่ยังไมฟนจากโรคระบาด ทํา ใหภาคธุรกิจตองแบกรับความเสี่ยงดานความปลอดภัย จากสารตกคางและตนทุนนําเขาที่สูงขึ้น เพื่อพยายามหา วัตถุดิบและสงมอบสินคาใหไดตามความตองการของ ตลาด (กุงแชแข็ง -32.38%) 4. ปลาทูนากระปอง ระดับราคาวัตถุดิบมีแนวโนมปรับลดลงตอเนื่อง ซึ่ง สงผลดีตอผูผลิตและแปรรูปของไทย หากแตปจจัย สําคัญที่สงผลใหอัตราการใชกําลังการผลิตปรับลดลง (ปลาทูนากระปอง -20.01%) เนื่องจากคําสั่งซื้อและ ความตองการบริโภคในตลาดไดชะลอตัวลง
download PDF ย้อนกลับ