สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557

กุมภาพันธ์ 2557

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  กุมภาพันธ์ 2557

 

          ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนธันวาคม 2556 มีโครงการไดรับ อนุมัตใิหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 4 โครงการ ดวย เงินลงทุนมีมูลคารวม 291 ลานบาท และมีการจางงาน จํานวน 107 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน พบวาทั้งจาํนวนโครงการอนุมัติ มูลคาเงินลงทุนและการ จางงานไดปรับตัวลดลงรอยละ 33.33 81.07 และ 85.20 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะ พบวาในเขตที่ 1 ไมพบโครงการที่อนุมัติใหการสงเสริม ในขณะที่เขตที่ 2 จํานวนโครงการ มูลคาเงินลงทุน และ การจางงานปรับลดลง สวนเขตที่ 3 มีจํานวนโครงการ มูลคาเงินลงทุน และการจางงานปรับเพิ่มขึ้น สําหรับ กลุมสินคาที่มเีงินลงทุนมากสุด ไดแก แปงมนัสําปะหลัง มีมูลคาอยูที่ 160 ลานบาท คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 54.91 ของเงนิลงทุนทั้งหมด โดยอยูในเขตพื้นที่จังหวัด ยโสธร รองลงมาคือ ขาวสารคัดคุณภาพ มีมูลคา 122 ลานบาท สัดสวนรอยละ 41.87 และน้ํามันงาสกัด มี มูลคา 9 ลานบาท สัดสวนรอยละ 3.23 และจากมูลคา ของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวง  ไตรมาส 3 ของป 57 มีกําลังการผลิตสินคาเพื่อการ บรโิภคในกลุมอุตสาหกรรมอาหารปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 1.04 แสนตัน โดยแบงออกเปนกลุมสินคาแปงมัน สําปะหลัง จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 45,000 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิตอยูที่ 2.4 ลานตันตอป) ดวยความตองการใชเพื่อเปนวัตถุดิบการผลิตใน อุตสาหกรรมอาหารที่เพิ่มมากขึ้น, ขาวสารคัดคุณภาพ จะมีกําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 59,490 ตัน (ทั้งระบบ อยูที่ 1.5 ลานตันตอป) และน้ํามันงาสกัด จะมีกําลัง การผลิตปรับเพิ่มขึ้น 5.4 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 2.5 หมื่น ตันตอป) สําหรับการจางงานพบวากลุมสินคาแปงมัน สําปะหลัง มีการจางงานมากที่สุดจํานวน 40 คน คิด เปนสัดสวนรอยละ 37.38 รองลงมาคือน้ํามันงาสกัด มี การจางงาน 37 คน คิดเปนรอยละ 34.58 และขาวสาร คัดคุณภาพ มีการจางงาน 30 คน คิดเปนรอยละ 14.02 โดยการจางงานปรับเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัด ยโสธร กรุงเทพฯ และรอยเอ็ด ตามลําดับ 

 

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  กุมภาพันธ์ 2557

 

          ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนธันวาคม 2556 มีโครงการไดรับ อนุมัตใิหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 4 โครงการ ดวย เงินลงทุนมีมูลคารวม 291 ลานบาท และมีการจางงาน จํานวน 107 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน พบวาทั้งจาํนวนโครงการอนุมัติ มูลคาเงินลงทุนและการ จางงานไดปรับตัวลดลงรอยละ 33.33 81.07 และ 85.20 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะ พบวาในเขตที่ 1 ไมพบโครงการที่อนุมัติใหการสงเสริม ในขณะที่เขตที่ 2 จํานวนโครงการ มูลคาเงินลงทุน และ การจางงานปรับลดลง สวนเขตที่ 3 มีจํานวนโครงการ มูลคาเงินลงทุน และการจางงานปรับเพิ่มขึ้น สําหรับ กลุมสินคาที่มเีงินลงทุนมากสุด ไดแก แปงมนัสําปะหลัง มีมูลคาอยูที่ 160 ลานบาท คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 54.91 ของเงนิลงทุนทั้งหมด โดยอยูในเขตพื้นที่จังหวัด ยโสธร รองลงมาคือ ขาวสารคัดคุณภาพ มีมูลคา 122 ลานบาท สัดสวนรอยละ 41.87 และน้ํามันงาสกัด มี มูลคา 9 ลานบาท สัดสวนรอยละ 3.23 และจากมูลคา ของเงินลงทุนทั้ง 3 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวง  ไตรมาส 3 ของป 57 มีกําลังการผลิตสินคาเพื่อการ บรโิภคในกลุมอุตสาหกรรมอาหารปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 1.04 แสนตัน โดยแบงออกเปนกลุมสินคาแปงมัน สําปะหลัง จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 45,000 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิตอยูที่ 2.4 ลานตันตอป) ดวยความตองการใชเพื่อเปนวัตถุดิบการผลิตใน อุตสาหกรรมอาหารที่เพิ่มมากขึ้น, ขาวสารคัดคุณภาพ จะมีกําลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 59,490 ตัน (ทั้งระบบ อยูที่ 1.5 ลานตันตอป) และน้ํามันงาสกัด จะมีกําลัง การผลิตปรับเพิ่มขึ้น 5.4 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 2.5 หมื่น ตันตอป) สําหรับการจางงานพบวากลุมสินคาแปงมัน สําปะหลัง มีการจางงานมากที่สุดจํานวน 40 คน คิด เปนสัดสวนรอยละ 37.38 รองลงมาคือน้ํามันงาสกัด มี การจางงาน 37 คน คิดเปนรอยละ 34.58 และขาวสาร คัดคุณภาพ มีการจางงาน 30 คน คิดเปนรอยละ 14.02 โดยการจางงานปรับเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัด ยโสธร กรุงเทพฯ และรอยเอ็ด ตามลําดับ 

 

          ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มเดือนธันวาคม 2556 ปรับตัว ลดลงรอยละ 16.33 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 50.59 การเปลี่ยนแปลงของดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตใน กลุมสินคาสําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องติดตอกัน เปนเดือนที่ 11 มกีลุมสินคาสําคัญคือ 1. กงุขาว (กุงแช แข็งลดลงรอยละ 42.19) ปริมาณวัตถุดิบโดยรวมของ ป 56 อยูที่ระดับ 250,000 ตัน เปนสัดสวนที่มีการ ปรับตัวลดลงเกินกวารอยละ 50 แสดงถึงจํานวนของ วัตถุดิบที่มีไมเพียงพอในตลาด ทําใหภาคธุรกิจตอง ประสบปญหาปรับลดกําลังการผลิตในปจจุบัน เพื่อให สอดคลองกับวัตถุดิบที่มี ในขณะที่ความตองการของ ตลาดที่สําคัญยังมีอยูอยางตอเนื่อง และจากปญหาและ อุปสรรคที่เกิดขึ้นไดสงผลกระทบตอสวนแบงตลาดใน กุงขาวแชแข็งและแปรรูปที่สําคัญ ใหตกไปอยูในมือ คูแขงที่สําคัญของไทยอยางเวียดนามและอินเดีย หากแตผูสงออกของไทยตางคาดวาสถานการณจะกลับ ฟนตัวและดีขึ้นในชวงครึ่งหลังของป 57 ปริมาณ วัตถุดิบนาจะเพิ่มขึ้นจากปที่ผานมา ดวยความเชื่อมั่นที่ มีเพิ่มขึ้นในกลุมเกษตรกรผูเพาะเลี้ยง ดวยการแกไข ปญหาจากหนวยงานภาครัฐ 2. ผักและผลไมแปรรูป (น้ําผลไมลดลงรอยละ 41.21, สับปะรดกระปองลดลง รอยละ 28.25) ผลผลิตตามฤดูกาลไดปรับลดลง ตอเนื่องจากชวงกอนหนา โดยเฉพาะภาคธุรกิจที่ผลิต และแปรรูปในกลุมสินคาน้ําผลไมและสับปะรดกระปอง ไดปรับลดกําลังการผลิตลงตอเนื่องจากเดือนกอน ขณะที่ระดับราคาวัตถุดิบยังอยูในเกณฑสูงและมีระดับที่ ทรงตัว 3. เนื้อไกแชเย็น/แชแข็ง (ปรับลดลงรอยละ 25.68) ปริมาณวัตถุดิบที่มีโดยสวนใหญไมปรับเพิ่มขึ้น และมีระดับราคาที่ ทรงตัว (ตวัและเครื่องใน) ในขณะที่ บางพื้นที่กลับขาดแคลนและมีระดับราคาอยูในเกณฑสูง (ชิ้นเนื้อ) แตจากคําสั่งซื้อที่ชะลอตัวลง ดวยปริมาณ สินคาที่สะสมจากชวงกอนหนา ทําใหรานคาสง-ปลีก ตองปรับลดลง และเพื่อรอดูการปรับตัวของตลาดจาก การกระตุนของภาครัฐ

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527