สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนมีนาคม 2557

มีนาคม 2557

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  มีนาคม 2557

 

          ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนมกราคม 2557 มีโครงการได้รับ อนุมัติให้การส่งเสริมเป็นจำนวนทั้งสิ้น 2 โครงการ ด้วย เงินลงทุนมีมูลค่ารวม 145 ล้านบาท และมีการจ้างงาน จ านวน 66 คน เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน พบว่าทั้งจ านวนโครงการอนุมัติ มูลค่าเงินลงทุนและการ จ้างงานได้ปรับตัวลดลงร้อยละ 50.00 332.65 และ 1,244.86 ตามล าดับ และเมื่อพิจารณาเป็นรายเขตจะ พบว่าในเขตที่ 1 และ 2 ไม่พบโครงการที่อนุมัติให้การ ส่งเสริม ในขณะที่เขตที่ 3 จ านวนโครงการ มูลค่าเงิน ลงทุน และการจ้างงานปรับลดลง ส าหรับกลุ่มสินค้าที่มี เงินลงทุนมากสุด ได้แก่ ขนมขบเคี้ยว มีมูลค่าอยู่ที่ 85 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 58.62 ของเงินลงทุน ทั้งหมด โดยอยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี รองลงมา คือ ข้าวสารคัดคุณภาพ มีมูลค่า 60 ล้านบาท สัดส่วน ร้อยละ 41.38 และจากมูลค่าของเงินลงทุนทั้ง 2 กลุ่ม สินค้า จะมีผลท าให้ในช่วงไตรมาส 3 ของปี 57 จะมี ก าลังการผลิตสินค้าเพื่อการบริโภคในกลุ่มอุตสาหกรรม อาหารปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 8.60 หมื่นตัน โดยแบ่ง ออกเป็นกลุ่มสินค้าขนมขบเคี้ยว จะมีก าลังการผลิต เพิ่มขึ้นในระบบ 4,000 ตัน (ทั้งระบบก าลังการผลิตอยู่ ที่ 1.2 แสนตันต่อปี) ด้วยความต้องการบริโภคที่เพิ่ม มากขึ้น ได้ส่งผลให้มูลค่าตลาดของสินค้ากลุ่มขนมขบ เคี้ยวปรับเพิ่มสูงขึ้นจนมีการเพิ่มก าลังการผลิตเพื่อ รองรับความต้องการในระยะเวลา 6 เดือนข้างหน้า, ข้าวสารคัดคุณภาพ จะมีก าลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 46,000 ตัน (ทั้งระบบอยู่ที่ 1.6 ล้านตันต่อปี) ส าหรับ การจ้างงานจะพบว่ากลุ่มสินค้าขนมขบเคี้ยว มีการจ้าง งานมากที่สุดจ านวน 36 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 54.55 รองลงมาคือข้าวสารคัดคุณภาพ มีการจ้างงาน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 45.45 โดยการจ้างงานปรับ เพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี และนครราชสีมาตามลำดับ การลงทุนขยายก าลังการผลิตรองรับตลาดที่ เติบโตขึ้น สอดคล้องกับการจ้างงานที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะ ในเขตเมืองใหญ่ที่มีจำนวนประชากรและกำลังซื้อที่มาก

 

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  มีนาคม 2557

 

          ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนมกราคม 2557 มีโครงการได้รับ อนุมัติให้การส่งเสริมเป็นจำนวนทั้งสิ้น 2 โครงการ ด้วย เงินลงทุนมีมูลค่ารวม 145 ล้านบาท และมีการจ้างงาน จ านวน 66 คน เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน พบว่าทั้งจ านวนโครงการอนุมัติ มูลค่าเงินลงทุนและการ จ้างงานได้ปรับตัวลดลงร้อยละ 50.00 332.65 และ 1,244.86 ตามล าดับ และเมื่อพิจารณาเป็นรายเขตจะ พบว่าในเขตที่ 1 และ 2 ไม่พบโครงการที่อนุมัติให้การ ส่งเสริม ในขณะที่เขตที่ 3 จ านวนโครงการ มูลค่าเงิน ลงทุน และการจ้างงานปรับลดลง ส าหรับกลุ่มสินค้าที่มี เงินลงทุนมากสุด ได้แก่ ขนมขบเคี้ยว มีมูลค่าอยู่ที่ 85 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 58.62 ของเงินลงทุน ทั้งหมด โดยอยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี รองลงมา คือ ข้าวสารคัดคุณภาพ มีมูลค่า 60 ล้านบาท สัดส่วน ร้อยละ 41.38 และจากมูลค่าของเงินลงทุนทั้ง 2 กลุ่ม สินค้า จะมีผลท าให้ในช่วงไตรมาส 3 ของปี 57 จะมี ก าลังการผลิตสินค้าเพื่อการบริโภคในกลุ่มอุตสาหกรรม อาหารปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 8.60 หมื่นตัน โดยแบ่ง ออกเป็นกลุ่มสินค้าขนมขบเคี้ยว จะมีก าลังการผลิต เพิ่มขึ้นในระบบ 4,000 ตัน (ทั้งระบบก าลังการผลิตอยู่ ที่ 1.2 แสนตันต่อปี) ด้วยความต้องการบริโภคที่เพิ่ม มากขึ้น ได้ส่งผลให้มูลค่าตลาดของสินค้ากลุ่มขนมขบ เคี้ยวปรับเพิ่มสูงขึ้นจนมีการเพิ่มก าลังการผลิตเพื่อ รองรับความต้องการในระยะเวลา 6 เดือนข้างหน้า, ข้าวสารคัดคุณภาพ จะมีก าลังการผลิตปรับเพิ่มขึ้น 46,000 ตัน (ทั้งระบบอยู่ที่ 1.6 ล้านตันต่อปี) ส าหรับ การจ้างงานจะพบว่ากลุ่มสินค้าขนมขบเคี้ยว มีการจ้าง งานมากที่สุดจ านวน 36 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 54.55 รองลงมาคือข้าวสารคัดคุณภาพ มีการจ้างงาน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 45.45 โดยการจ้างงานปรับ เพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี และนครราชสีมาตามลำดับ การลงทุนขยายก าลังการผลิตรองรับตลาดที่ เติบโตขึ้น สอดคล้องกับการจ้างงานที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะ ในเขตเมืองใหญ่ที่มีจำนวนประชากรและกำลังซื้อที่มาก

 

          ดัชนีอัตราการใช้กำลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มเดือนมกราคม 2557 ปรับตัวลดลง ร้อยละ 10.95 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดย มีอัตราการใช้กำลังการผลิตอยู่ที่ระดับ 53.57 การ เปลี่ยนแปลงของดัชนีอัตราการใช้ก าลังการผลิตในกลุ่ม สินค้าส าคัญยังคงปรับตัวลดลงต่อเนื่องติดต่อกันใน รอบ 1 ปีที่ผ่านมา โดยมีกลุ่มสินค้าส าคัญคือ 1. กุ้งขาว (กุ้งแช่แข็งลดลงร้อยละ 45.87) กว่าร้อยละ 85 ของ ปัจจัยการผลิต วัตถุดิบถือว่ามีความส าคัญ ยิ่งช่วง ระยะเวลา 1-2 เดือนที่ผ่านมา ได้สะท้อนภาพให้เห็นถึง ความไม่มั่นใจของเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงกุ้งขาวในบ้าน เราที่ยังคงมีอยู่ ทั้งต่อสภาพอากาศที่แห้งแล้ง/ร้อนมาก ขึ้น และระดับราคาของพ่อแม่พันธุ์ที่เพาะและขยายพันธ์ ต่างมีราคาอยู่ในเกณฑ์ที่สูง จนท าให้เกษตรกรบางราย ยังไม่กล้าลงทุนมากนัก อีกทั้งราคาอาหารสัตว์ที่อยู่ใน เกณฑ์สูงถือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ผู้เพาะเลี้ยงมีความกังวล ต่อการลงทุน ดังนั้น จากสถานการณ์ที่เป็นอยู่มีแนวโน้ม ที่เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงกุ้งขาวจะส่งผลผลิต/วัตถุดิบเข้า สู่ตลาดไม่มากนัก ซึ่งอาจต้องใช้ระยะเวลาถึงไตรมาส 3 ในการเพิ่มปริมาณผลผลิต/วัตถุดิบในตลาดได้ และถือ เป็นอุปสรรค์ส าคัญส าหรับผู้ส่งออกกุ้งขาวแปรรูปของ ไทยในปัจจุบัน 2. ผักและผลไม้แปรรูป (น ้าผลไม้ลดลง ร้อยละ 38.43, สับปะรดกระป๋องลดลงร้อยละ 32.28) ผลผลิตตามฤดูกาลที่เก็บเกี่ยวได้ปรับลดลงต่อเนื่องจาก ช่วงก่อนหน้า ซึ่งส่งผลต่อภาคธุรกิจที่ผลิตและแปรรูป ในกลุ่มสินค้าน้ าผลไม้และสับปะรดกระป๋อง ให้ต้อง ปรับลดก าลังการผลิตลงให้สอดคล้องกับผลผลิตที่มี ขณะที่ระดับราคาวัตถุดิบยังอยู่ในเกณฑ์สูง 3. เนื้อไก่แช่ เย็น/แช่แข็ง (ปรับลดลงร้อยละ 27.75) ปริมาณ วัตถุดิบโดยส่วนใหญ่ปรับเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ซึ่งส่งผลดีต่อ ระดับราคาในตลาดให้ปรับลดลงถึงทรงตัว ขณะที่บาง พื้นที่มีระดับราคาอยู่ในเกณฑ์สูง โดยเฉพาะชิ้นเนื้อ ท า ให้ก าลังการผลิตยังคงมีไม่เพียงพอ เมื่อเทียบกับความ ต้องการของตลาดคือ ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และสหรัฐฯ ซึ่งส่งผลดีต่อตลาดโดยรวมให้มีค าสั่งซื้อเพิ่มต่อเนื่อง

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527