สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนเมษายน 2557

เมษายน 2557

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  เมษายน 2557

 

          ภาะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 มีโครงการได้รับ อนุมัติให้การส่งเสริมเปนจ านนทั้งสิ้น 7 โครงการ ด้ย เงินลงทุนมีมูลค่ารม 1,286 ล้านบาท และมีการจ้าง งานจ านน 800 คน เมื่อเทียบกับช่งเดียกันของป ก่อน พบ่าทั้งจ านนโครงการอนุมัติ มูลค่าเงินลงทุน และการจ้างงานได้ปรับตัลดลงร้อยละ 22.22 6.88 และ 46.31 ตามล าดับ และเมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะ พบ่าในเขตที่ 1 และ 3 ปรับลดลงทั้งจ านนโครงการที่ อนุมัติให้การส่งเสริม มูลค่าเงินลงทุน และการจ้างงาน ในขณะที่เขตที่ 2 มูลค่าเงินลงทุนได้ปรับเพิ่มข้น ส าหรับ กลุ่มสินค้าที่มีเงินลงทุนมากสุด ได้แก่ แป้งมันส าปะหลัง มีมูลค่าอยู่ที่ 513 ล้านบาท คิดเปนสัดส่นงร้อยละ 39.89 ของเงินลงทุนทั้งหมด โดยอยู่ในเขตพื้นที่จังหัด อ านาจเจริ และอุดรานี รองลงมาคือ ผลิตภัณฑ์จาก น้ านมดิบ มีมูลค่า 372 ล้านบาท สัดส่นร้อยละ 28.93 และนมั่เหลือง มีมูลค่า 350 ล้านบาท สัดส่นร้อยละ 27.22 โดยมูลค่าเงินลงทุนทั้ง 3 กลุ่มสินค้า จะมีผลท า ให้ในช่งปลายป 57 จะมีก าลังการผลิตสินค้าเพื่อการ บริโภคในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารปรับเพิ่มข้นประมาณ 1.80 แสนตัน โดยแบ่งออกเปนกลุ่มแป้งมันส าปะหลัง จะมีก าลังการผลิตเพิ่มข้นในระบบ 1.17 แสนตัน (ทั้ง ระบบก าลังการผลิตอยู่ที่ 2.4 ล้านตันต่อป) จากคาม ต้องการใช้ในอุตสาหกรรมอาหารที่เพิ่มข้น ได้ส่งผลให้ มูลค่าตลาดและก าลังการผลิตปรับเพิ่มข้น, ผลิตภัณฑ์ จากน้ านมดิบ จะมีก าลังการผลิตเพิ่มข้น 44,240 ตัน (ทั้งระบบอยู่ที่ 1.4 ล้านตันต่อป) และนมั่เหลือง จะ มีก าลังการผลิตเพิ่มข้น 19,200 ตัน (ทั้งระบบอยู่ที่ 4.5 แสนตันต่อป) ส าหรับการจ้างงานจะพบ่ากลุ่มสินค้า แป้งมันส าปะหลัง มีการจ้างงานมากสุดจ านน 446 คน คิดเปนสัดส่นร้อยละ 55.75 รองลงมาคือผลิตภัณฑ์ จากน้ านมดิบ มีจ านน 155 คน คิดเปนร้อยละ 19.38 และน้ ามันพืช มีจ านน 84 คน คิดเปนร้อยละ 10.50 โดยการจ้างงานปรับเพิ่มข้นในเขตจังหัดอ านาจเจริ อุดรานี และพระนครศรีอยุยา ตามล าดับ ่งือเปน เขตพื้นที่ที่ส าคัด้านัตุดิบและสิทิพิเศษการลงทุน

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

  เมษายน 2557

 

          ภาะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 มีโครงการได้รับ อนุมัติให้การส่งเสริมเปนจ านนทั้งสิ้น 7 โครงการ ด้ย เงินลงทุนมีมูลค่ารม 1,286 ล้านบาท และมีการจ้าง งานจ านน 800 คน เมื่อเทียบกับช่งเดียกันของป ก่อน พบ่าทั้งจ านนโครงการอนุมัติ มูลค่าเงินลงทุน และการจ้างงานได้ปรับตัลดลงร้อยละ 22.22 6.88 และ 46.31 ตามล าดับ และเมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะ พบ่าในเขตที่ 1 และ 3 ปรับลดลงทั้งจ านนโครงการที่ อนุมัติให้การส่งเสริม มูลค่าเงินลงทุน และการจ้างงาน ในขณะที่เขตที่ 2 มูลค่าเงินลงทุนได้ปรับเพิ่มข้น ส าหรับ กลุ่มสินค้าที่มีเงินลงทุนมากสุด ได้แก่ แป้งมันส าปะหลัง มีมูลค่าอยู่ที่ 513 ล้านบาท คิดเปนสัดส่นงร้อยละ 39.89 ของเงินลงทุนทั้งหมด โดยอยู่ในเขตพื้นที่จังหัด อ านาจเจริ และอุดรานี รองลงมาคือ ผลิตภัณฑ์จาก น้ านมดิบ มีมูลค่า 372 ล้านบาท สัดส่นร้อยละ 28.93 และนมั่เหลือง มีมูลค่า 350 ล้านบาท สัดส่นร้อยละ 27.22 โดยมูลค่าเงินลงทุนทั้ง 3 กลุ่มสินค้า จะมีผลท า ให้ในช่งปลายป 57 จะมีก าลังการผลิตสินค้าเพื่อการ บริโภคในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารปรับเพิ่มข้นประมาณ 1.80 แสนตัน โดยแบ่งออกเปนกลุ่มแป้งมันส าปะหลัง จะมีก าลังการผลิตเพิ่มข้นในระบบ 1.17 แสนตัน (ทั้ง ระบบก าลังการผลิตอยู่ที่ 2.4 ล้านตันต่อป) จากคาม ต้องการใช้ในอุตสาหกรรมอาหารที่เพิ่มข้น ได้ส่งผลให้ มูลค่าตลาดและก าลังการผลิตปรับเพิ่มข้น, ผลิตภัณฑ์ จากน้ านมดิบ จะมีก าลังการผลิตเพิ่มข้น 44,240 ตัน (ทั้งระบบอยู่ที่ 1.4 ล้านตันต่อป) และนมั่เหลือง จะ มีก าลังการผลิตเพิ่มข้น 19,200 ตัน (ทั้งระบบอยู่ที่ 4.5 แสนตันต่อป) ส าหรับการจ้างงานจะพบ่ากลุ่มสินค้า แป้งมันส าปะหลัง มีการจ้างงานมากสุดจ านน 446 คน คิดเปนสัดส่นร้อยละ 55.75 รองลงมาคือผลิตภัณฑ์ จากน้ านมดิบ มีจ านน 155 คน คิดเปนร้อยละ 19.38 และน้ ามันพืช มีจ านน 84 คน คิดเปนร้อยละ 10.50 โดยการจ้างงานปรับเพิ่มข้นในเขตจังหัดอ านาจเจริ อุดรานี และพระนครศรีอยุยา ตามล าดับ ่งือเปน เขตพื้นที่ที่ส าคัด้านัตุดิบและสิทิพิเศษการลงทุน

 

          ดัชนีอัตราการใช้กำลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มเดือนกุมภาพันธ์ 2557 ปรับตัวลดลงร้อยละ 9.11 เมื่อเทียบกับช่งเดียกันของปก่อน โดยมีอัตราการใช้กำลังการผลิตอยู่ที่ระดับ 47.49 ลดลง ต่ าสุดในรอบ 5 เดือน ของดัชนีอัตราการใช้ก าลังการ ผลิตในกลุ่มสินค้าส าคัยังคงปรับตัลดลงต่อเนื่อง ติดต่อกันจากช่งปก่อน โดยประกอบด้ยกลุ่มสินค้าที่ สำคัคือ 1) เนื้อไก่แช่แข็ง/แช่เย็น (ปรับลดลงร้อยละ 22.65) ก าลังการผลิตที่ปรับลดลงโดยมีัตุประสงค์ เพื่อให้สอดคล้องกับคามต้องการบริโภคที่แท้จริงใน ตลาด อีกทั้งก าลังการผลิตที่สะสมจากในช่งปลายป 56 ที่ผ่านมา ท าให้ผู้ผลิตและส่งออกของไทยยังมีสินค้าในสต็อกอยู่พอสมคร จงท าให้ในเดือนกุมภาพัน์ ก าลัง การผลิตและแปรรูปเนื้อไก่ไม่ปรับเพิ่มข้น เมื่อพิจารณา งภาะตลาดที่เริ่มดีข้นต่อเนื่องในตลาดที่ส าคั อาจ เปนปจจัยที่จะส่งผลให้ก าลังการผลิตในเดือนัดไปปรับ เพิ่มสูงข้น 2) กุ้งขา (กุ้งแช่แข็งลดลงร้อยละ 34.04) ปหาัตุดิบที่ขาดแคลนยังคงเปนปจจัยส าคัต่อภาค การส่งออกของไทยในปจจุบัน ทั้งคามพยายามน าเข้า ัตุดิบจากต่างประเทศ  (อินเดียและเอกาดอร์) ่ง ือเปนต้นทุนการผลิตที่เพิ่มสูงข้นและไม่อาจหลีกเลี่ยง ได้ (ทั้งราคาที่น าเข้าและการตรจสอบสารพิษตกค้าง) ท าให้ภาคการผลิตต้องเพิ่มระดับราคาสินค้าในตลาด ในขณะที่ัตุดิบในประเทศก็มีไม่เพียงพอ/มีระดับ ราคาที่สูงเช่นกัน เนื่องจากคามิตกกังลของเกษตรกร ผู้เพาะเลี้ยงกุ้งขาจากโรคตายด่น ท าให้สานการณ์ใน ปจจุบันผู้ผลิตและส่งออกหลายรายหันไปผลิตสินค้าที่มี คามใกล้เคียงมากข้นเพื่อป้องกันการสูเสียส่นแบ่ง ตลาด 3) ผลไม้และผักกระป๋อง (สับปะรดกระป๋องและ น ้าผลไม้ ปรับลดลงร้อยละ 26.65 และ 41.29) ก าลัง การผลิตในเดือนกุมภาพัน์ปรับลดลงเนื่องจากัตุดิบ ที่มีในตลาดมีน้อยลง เพาะอยู่ในช่งปรับเปลี่ยนดูกาล ที่จะเก็บเกี่ย อีกทั้งปริมาณสินค้าที่มีสะสมจากช่งก่อน หน้าที่ยังคงมีอยู่มาก จงท าให้ภาคการผลิตไม่เร่งก าลัง มากนัก ประกอบกับภาะตลาดที่ชะลอจากค าสั่งื้อที่มี ในช่งปลายปที่ผ่านมา โดยเพาะร้านค้าปลีกที่ยังมีอยู่

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ติดต่อสอบถามข้อมูล ต่อ 3122 ติดต่อสมาชิกสถาบันอาหาร ต่อ 8101