พฤษภาคม 2557
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
พฤษภาคม 2557
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนมีนาคม 2557 มีโครงการได้รับอนุมัติ ให้การส่งเสริมเป็นจ านวนทั้งสิ้น 9 โครงการ ด้วยเงิน ลงทุนมีมูลค่ารวม 948 ล้านบาท และมีการจ้างงาน จ านวน 526 คน เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน พบว่าทั้งจ านวนโครงการอนุมัติ มูลค่าเงินลงทุนและการ จ้างงานได้ปรับตัวลดลงร้อยละ 55.56, 404.13 และ 143.02 ตามล าดับ และเมื่อพิจารณาเป็นรายเขตจะ พบว่าในเขตที่ 1 และ 2 ปรับลดลงทั้งจ านวนโครงการที่ อนุมัติ มูลค่าเงินลงทุน และการจ้างงาน ในขณะที่เขตที่ 3 จ านวนโครงการที่อนุมัติและการจ้างงานปรับเพิ่มขึ้น ส าหรับกลุ่มสินค้าที่มีเงินลงทุนมากสุด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ จากมะพร้าวมีมูลค่าอยู่ที่ 260 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน ถึงร้อยละ 27.42 ของเงินลงทุนทั้งหมด โดยอยู่ในเขต พื้นที่จังหวัดนครปฐม รองลงมาคือ สิ่งปรุงแต่งอาหาร มีมูลค่า 165 ล้านบาท สัดส่วนร้อยละ 17.40 และน้ า จากพืช/ผัก/ผลไม้ มีมูลค่า 156 ล้านบาท สัดส่วนร้อย ละ 16.45 โดยมูลค่าเงินลงทุนทั้ง 3 กลุ่มสินค้า จะมีผล ท าให้ในช่วงปลายปี 57 จะมีก าลังการผลิตสินค้าเพื่อ บริโภคในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 6.1 หมื่นตัน โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์จาก มะพร้าว จะมีก าลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 2 หมื่นตัน
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
พฤษภาคม 2557
ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนมีนาคม 2557 มีโครงการได้รับอนุมัติ ให้การส่งเสริมเป็นจ านวนทั้งสิ้น 9 โครงการ ด้วยเงิน ลงทุนมีมูลค่ารวม 948 ล้านบาท และมีการจ้างงาน จ านวน 526 คน เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน พบว่าทั้งจ านวนโครงการอนุมัติ มูลค่าเงินลงทุนและการ จ้างงานได้ปรับตัวลดลงร้อยละ 55.56, 404.13 และ 143.02 ตามล าดับ และเมื่อพิจารณาเป็นรายเขตจะ พบว่าในเขตที่ 1 และ 2 ปรับลดลงทั้งจ านวนโครงการที่ อนุมัติ มูลค่าเงินลงทุน และการจ้างงาน ในขณะที่เขตที่ 3 จ านวนโครงการที่อนุมัติและการจ้างงานปรับเพิ่มขึ้น ส าหรับกลุ่มสินค้าที่มีเงินลงทุนมากสุด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ จากมะพร้าวมีมูลค่าอยู่ที่ 260 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน ถึงร้อยละ 27.42 ของเงินลงทุนทั้งหมด โดยอยู่ในเขต พื้นที่จังหวัดนครปฐม รองลงมาคือ สิ่งปรุงแต่งอาหาร มีมูลค่า 165 ล้านบาท สัดส่วนร้อยละ 17.40 และน้ า จากพืช/ผัก/ผลไม้ มีมูลค่า 156 ล้านบาท สัดส่วนร้อย ละ 16.45 โดยมูลค่าเงินลงทุนทั้ง 3 กลุ่มสินค้า จะมีผล ท าให้ในช่วงปลายปี 57 จะมีก าลังการผลิตสินค้าเพื่อ บริโภคในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 6.1 หมื่นตัน โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์จาก มะพร้าว จะมีก าลังการผลิตเพิ่มขึ้นในระบบ 2 หมื่นตัน
ดัชนีอัตราการใช้ก าลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มเดือนมีนาคม 2557 ปรับตัวลดลง ร้อยละ 8.61 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดย มีอัตราการใช้ก าลังการผลิตอยู่ที่ระดับ 56.55 ในกลุ่ม สินค้าส าคัญยังคงปรับตัวลดลงต่อเนื่องติดต่อกันจาก ช่วงต้นปีก่อน ประกอบด้วยกลุ่มสินค้าที่ส าคัญ ได้แก่ 1) ผลไม้และผักกระป๋อง (สับปะรดกระป๋อง ปรับลดลง ร้อยละ 46.08) ปัจจัยส าคัญที่ส่งผลท าให้ก าลังการผลิต ในเดือนมีนาคม 2557 ปรับลดลงเนื่องมาจากปริมาณ ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้มีจ านวนลดลง จากภาวะภัยแล้งที่ เกิดขึ้นโดยเฉพาะในแหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ ราชบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งไม่เพียงพอ กับความต้องการของโรงงานแปรรูปเพื่อให้เครื่องจักร สามารถคงสภาพการผลิตอยู่ได้ (ไม่หยุดผลิต) จนท า ให้ราคาสับปะรดสดหน้าโรงงานปรับเพิ่มสูงขึ้นถึงร้อย ละ 93.10 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน 2) ปลาทูน่า/ ปลากระป๋อง (ปลาทูน่ากระป๋องปรับลดลงร้อยละ 18.17) ระดับราคาวัตถุดิบที่เอื้ออ านวยต่อภาคการ ผลิตในโรงงานแปรรูป โดยอยู่ที่ระดับ 1,238 US/ตัน (ปรับลดลงร้อยละ 45.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน) ใน เดือนมีนาคม 2557 แต่จากก าลังการผลิตที่ปรับตัว ลดลงได้สะท้อนภาพของภาวะตลาดที่ซบเซาจากความ ต้องการบริโภคปลาทูน่ากระป๋องที่ลดลง ท าให้มีปริมาณ ค าสั่งซื้อที่ชะลอตัวลง จากภาวะเศรษฐกิจของประเทศคู่ ค้าที่ส าคัญอย่างสหรัฐฯ ยุโรป และญี่ปุ่น มีทิศทางดีขึ้น และมีแนวโน้มที่เป็นบวกต่อเนื่อง จนท าให้ผู้บริโภคใน ประเทศที่ส าคัญมีเงินในกระเป๋าเพื่อการจับจ่ายใช้สอย ในกลุ่มสินค้าที่แพงมากขึ้นได้ 3) กุ้งขาวแช่แข็ง (ปรับ ลดลงร้อยละ 30.59) ก าลังการผลิตที่ปรับลดลงใน เดือนมีนาคม 2557 เป็นผลจากการขาดแคลนวัตถุดิบ ต่อเนื่องตั้งแต่ในช่วงต้นปี 56 เป็นต้นมา เกษตรกรยัง ไม่มั่นใจต่อภาวะโรคระบาดที่เคยเกิดขึ้น ท าให้ไม่กล้าที่ จะลงทุนเพาะเลี้ยงกุ้งขาวอีกครั้ง ซึ่งจะท าให้การฟื้นตัว ของอุตสาหกรรมกุ้งไทยมีระยะเวลาที่ยาวนานขึ้น และ จะส่งผลกระทบต่อภาพรวมให้ผลผลิตโดยรวมในปี 57 อยู่ที่ระดับ 1-1.5 แสนตัน ซึ่งน้อยกว่าปี 56 ก็เป็นได้
download PDF ย้อนกลับ