สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทย ประจำเดือนมิถุนายน 2557

มิถุนายน 2557

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

มิถุนายน 2557

 

          ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนเมษายน 2557 มีโครงการไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 2 โครงการ เงิน ลงทุนมีมูลคารวม 110 ลานบาท และมีการจางงาน จํานวน 62 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน พบวาทั้งจํานวนโครงการอนุมัติ มูลคาเงินลงทุนและการ จางงานไดปรับตัวลดลงรอยละ 89.47, 98.01 และ 96.17 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะ พบวาในเขตที่ 1, 2 และ 3 ทั้งจํานวนโครงการที่อนุมัติ มูลคาเงินลงทุน และการจางงานลวนปรับตัวลดลงทั้งสิ้น สําหรับกลุมสินคาที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ไดแก ผลไม อบแหงสําเร็จรูป มีมูลคา 60 ลานบาท คิดเปนสัดสวน ถึงรอยละ 54.71 ของเงินลงทุนทั้งหมด โดยอยูในเขต พื้นที่จังหวัดจันทบุรี รองลงมาคือ ขาวคัดคุณภาพ มี มูลคา 50 ลานบาท สัดสวนรอยละ 45.29 อยูในเขต พื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ดังนั้นมูลคาเงินลงทุนทั้ง 2 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวงปลายป 57 จะมีกําลัง การผลิตสินคาเพื่อบริโภคในกลุมอุตสาหกรรมอาหาร ปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 1.6 หมื่นตัน โดยแบงออกเปน กลุมผลไมอบแหงสําเร็จรูป จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น ในระบบ 120 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิตอยูที่ 5.6 หมื่นตันตอป) จากความตองการบริโภคที่เพิ่มขึ้นใน ตลาดตางประเทศที่ขยายตัว และขาวคัดคุณภาพ จะมี กําลังการผลิตเพิ่มขึ้น 15,408 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 1.6 ลานตันตอป) สําหรับการจางงานจะพบวาในกลุมผลไม อบแหงสําเร็จรูป มีการจางงานมากที่สุดจํานวน 50 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 80.65 รองลงมาคือขาวคัด คุณภาพ มีจํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 19.35 จาก การที่โครงการที่ขอรับการลงทุนเกิดความลาชาในการ พิจารณาตั้งแตในชวงปลายปที่ผานมา

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

มิถุนายน 2557

 

          ภาวะการลงทุนของภาคอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มในเดือนเมษายน 2557 มีโครงการไดรับ อนุมัติใหการสงเสริมเปนจํานวนทั้งสิ้น 2 โครงการ เงิน ลงทุนมีมูลคารวม 110 ลานบาท และมีการจางงาน จํานวน 62 คน เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน พบวาทั้งจํานวนโครงการอนุมัติ มูลคาเงินลงทุนและการ จางงานไดปรับตัวลดลงรอยละ 89.47, 98.01 และ 96.17 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาเปนรายเขตจะ พบวาในเขตที่ 1, 2 และ 3 ทั้งจํานวนโครงการที่อนุมัติ มูลคาเงินลงทุน และการจางงานลวนปรับตัวลดลงทั้งสิ้น สําหรับกลุมสินคาที่มีเงินลงทุนมากที่สุด ไดแก ผลไม อบแหงสําเร็จรูป มีมูลคา 60 ลานบาท คิดเปนสัดสวน ถึงรอยละ 54.71 ของเงินลงทุนทั้งหมด โดยอยูในเขต พื้นที่จังหวัดจันทบุรี รองลงมาคือ ขาวคัดคุณภาพ มี มูลคา 50 ลานบาท สัดสวนรอยละ 45.29 อยูในเขต พื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ดังนั้นมูลคาเงินลงทุนทั้ง 2 กลุมสินคา จะมีผลทําใหในชวงปลายป 57 จะมีกําลัง การผลิตสินคาเพื่อบริโภคในกลุมอุตสาหกรรมอาหาร ปรับเพิ่มขึ้นประมาณ 1.6 หมื่นตัน โดยแบงออกเปน กลุมผลไมอบแหงสําเร็จรูป จะมีกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น ในระบบ 120 ตัน (ทั้งระบบกําลังการผลิตอยูที่ 5.6 หมื่นตันตอป) จากความตองการบริโภคที่เพิ่มขึ้นใน ตลาดตางประเทศที่ขยายตัว และขาวคัดคุณภาพ จะมี กําลังการผลิตเพิ่มขึ้น 15,408 ตัน (ทั้งระบบอยูที่ 1.6 ลานตันตอป) สําหรับการจางงานจะพบวาในกลุมผลไม อบแหงสําเร็จรูป มีการจางงานมากที่สุดจํานวน 50 คน คิดเปนสัดสวนรอยละ 80.65 รองลงมาคือขาวคัด คุณภาพ มีจํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 19.35 จาก การที่โครงการที่ขอรับการลงทุนเกิดความลาชาในการ พิจารณาตั้งแตในชวงปลายปที่ผานมา

 

          ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มเดือนเมษายน 2557 ปรับตัวลดลง รอยละ 8.90 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดย มีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 45.56 ในกลุม สินคาสําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องติดตอกันตั้งแต ในชวงตนป 56 กลุมสินคาปรับตัวลดลง ไดแก 1) ปลา ทูนากระปอง (ปรับลดลงรอยละ 15.81) โดยมีปจจัย สําคัญคือ ความตองการบริโภคในตลาดทูนากระปองที่ สําคัญของไทยอยาง สหรัฐฯ ออสเตรเลีย และญี่ปุน ชะลอตัวลงจากภาวะทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ในชวง ไตรมาส 1 ที่มีการติดลบรอยละ 1 ในขณะที่ความ ตองการบริโภคทูนากระปองของออสเตรเลีย และญี่ปุน ในเดือนเมษายน ตางปรับตัวลดลงเชนกัน เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน 2) กุงขาวแชแข็ง (ปรับลดลง รอยละ 30.35) การขาดแคลนวัตถุดิบอยางตอเนื่องยัง เปนปจจัยสําคัญที่สงผลกระทบตอภาคการผลิตในเดือน เมษายน 2557 ใหปรับลดลงอีก และจากสภาพอากาศ ที่เปลี่ยนจากรอนจัดสลับกลับมามีฝนที่ตกหนักทําใหมี ปญหาเกิดขึ้นกับเกษตรกรที่เพาะเล้ียงกุงขาวทั้งบริเวณ ในภาคตะวันออกและภาคใตของไทย และจากตัวเลข การสงออกผลิตภัณฑกุงขาวของไทยในเดือนเมษายน ทั้งในตลาดสหรัฐฯ ญี่ปุน และยุโรป มีมูลคาสงออกปรับ ลดลง โดยเฉพาะกุงขาวแปรรูปที่มีสัดสวนลดลงถึงรอย ละ 20.4 ขณะที่กุงขาวแชแข็งมีสัดสวนลดลงรอยละ 17.4 3) เนื้อไกแชเย็น/แชแข็ง (ปรับลดลงรอยละ 12.65) กําลังการผลิตปรับลดลงในเดือนเมษายน 2557 เปนผลจากสภาพอากาศที่รอนจัดจนทําใหอัตรา การเติบโตของไกที่เลี้ยงไมดีเทาท่ีควร และสงผลตอ น้ําหนักไกที่ซื้อขายในตลาด ซึ่งทําใหผูผลิตและสงออก ของไทยตางตองปรับตัวรับกับความตองการของตลาดที่ มีการปรับเปลี่ยนดานน้ําหนักในปจจุบัน แตดวยภาวะ ตลาดที่ยังคงเติบโตไดตอเนื่อง โดยเฉพาะในตลาดกลุม ยุโรป และเกาหลีใตที่มีมูลคาการสงออกปรับเพิ่มสูงขึ้น ในชวง 4 เดือนแรกของป 2557 และมีแนวโนมที่เปน บวกตอในไตรมาส 2 จะเปนปจจัยที่สงผลใหการสงออก ไกของไทยโดยรวมมีปริมาณเพิ่มขึ้นจากเปาหมายป 57

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ติดต่อสอบถามข้อมูล ต่อ 3122 ติดต่อสมาชิกสถาบันอาหาร ต่อ 8101