กรกฎาคม 2557
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
กรกฎาคม 2557
ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มเดือนพฤษภาคม 2557 ปรับตัว ลดลงรอยละ 6.92 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 49.33 ใน กลุมสินคาสําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องติดตอกัน ตั้งแตในชวงตนป 56 กลุมสินคาปรับตัวลดลง ไดแก 1) ปลาทูนากระปอง (ปรับลดลงรอยละ 23.00) ปจจัย สําคัญมาจากตลาดการบริโภคทูนากระปองในกลุม ลูกคาสวนใหญ ไดแก สหรัฐฯ ญี่ปุน สหภาพยุโรป และ อาเซียน มีคําสั่งซื้อโดยรวมปรับลดลงตอเนื่องเมื่อเทียบ กับชวงเดียวกันของปกอน (เดือนม.ค.-มิ.ย.) จากภาวะ เศรษฐกิจที่เริ่มฟนตัวและเปนบวกเล็กนอย ในขณะที่ กลุมประเทศที่ยังคงมีความตองการบริโภค ทูนา กระปองเพิ่มขึ้น ไดแก ออสเตรเลีย และตะวันออกกลาง เนื่องจากความเชื่อมั่นที่มีตอภาวะทางเศรษฐกิจ ภายในประเทศดังกลาว 2) เครื่องปรุงรส (ปรับลดลง รอยละ 17.61) ตลาดผูบริโภคทั้งภายในประเทศและ ตางประเทศยังชะลอตัวลดลง เนื่องจากปญหาการเมือง ภายในประเทศในเดือน พ.ค. 57 ประกอบกับภาวะ เศรษฐกิจในตางประเทศที่ยังไมดีข้ึน จึงทําใหไมเกิดแรง กระตุนเพื่อการบริโภค อีกทั้งปริมาณและระดับราคา ของวัตถุดิบที่สําคัญตอภาคการผลิตมีความผันผวนเพิ่ม มากขึ้นในตลาด จากสภาพอากาศที่มีความแปรปรวน จึงสงผลตอกําลังการผลิตในเดือน พ.ค. 57 ใหปรับ ลดลง 3) แปงมันสําปะหลัง (ปรับลดลงรอยละ 8.39) มันสําปะหลังซึ่งเปนวัตถุดิบที่สําคัญมีปริมาณผลผลิต ลดลง เปนผลจากปริมาณน้ําฝนที่มีมากเกินไปทําใหเกิด การระบาดของโรคและสรางความเสียหายใหกับผลผลิต ที่รอเก็บเกี่ยว โรงงานผูผลิตและแปรรูปบางสวนตอง เริ่มลดกําลังการผลิตลง เพื่อใหสอดรับกับวัตถุดิบที่มี เขามา ดานการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทย ตางไดรับผลกระทบจากปริมาณคําสั่งซื้อที่ลดลงเชนกัน ดวยความตองการนําเขาเพื่อนําไปใชเปนสวนประกอบ หลักในการผลิตสินคาในหลายอุตสาหกรรมไดปรับลด ปริมาณลง ซึ่งเปนผลสืบเนื่องมาจากการจับจายใชสอย ของภาคครัวเรือนที่ปรับตัวลดลง
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
กรกฎาคม 2557
ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มเดือนพฤษภาคม 2557 ปรับตัว ลดลงรอยละ 6.92 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 49.33 ใน กลุมสินคาสําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องติดตอกัน ตั้งแตในชวงตนป 56 กลุมสินคาปรับตัวลดลง ไดแก 1) ปลาทูนากระปอง (ปรับลดลงรอยละ 23.00) ปจจัย สําคัญมาจากตลาดการบริโภคทูนากระปองในกลุม ลูกคาสวนใหญ ไดแก สหรัฐฯ ญี่ปุน สหภาพยุโรป และ อาเซียน มีคําสั่งซื้อโดยรวมปรับลดลงตอเนื่องเมื่อเทียบ กับชวงเดียวกันของปกอน (เดือนม.ค.-มิ.ย.) จากภาวะ เศรษฐกิจที่เริ่มฟนตัวและเปนบวกเล็กนอย ในขณะที่ กลุมประเทศที่ยังคงมีความตองการบริโภค ทูนา กระปองเพิ่มขึ้น ไดแก ออสเตรเลีย และตะวันออกกลาง เนื่องจากความเชื่อมั่นที่มีตอภาวะทางเศรษฐกิจ ภายในประเทศดังกลาว 2) เครื่องปรุงรส (ปรับลดลง รอยละ 17.61) ตลาดผูบริโภคทั้งภายในประเทศและ ตางประเทศยังชะลอตัวลดลง เนื่องจากปญหาการเมือง ภายในประเทศในเดือน พ.ค. 57 ประกอบกับภาวะ เศรษฐกิจในตางประเทศที่ยังไมดีข้ึน จึงทําใหไมเกิดแรง กระตุนเพื่อการบริโภค อีกทั้งปริมาณและระดับราคา ของวัตถุดิบที่สําคัญตอภาคการผลิตมีความผันผวนเพิ่ม มากขึ้นในตลาด จากสภาพอากาศที่มีความแปรปรวน จึงสงผลตอกําลังการผลิตในเดือน พ.ค. 57 ใหปรับ ลดลง 3) แปงมันสําปะหลัง (ปรับลดลงรอยละ 8.39) มันสําปะหลังซึ่งเปนวัตถุดิบที่สําคัญมีปริมาณผลผลิต ลดลง เปนผลจากปริมาณน้ําฝนที่มีมากเกินไปทําใหเกิด การระบาดของโรคและสรางความเสียหายใหกับผลผลิต ที่รอเก็บเกี่ยว โรงงานผูผลิตและแปรรูปบางสวนตอง เริ่มลดกําลังการผลิตลง เพื่อใหสอดรับกับวัตถุดิบที่มี เขามา ดานการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทย ตางไดรับผลกระทบจากปริมาณคําสั่งซื้อที่ลดลงเชนกัน ดวยความตองการนําเขาเพื่อนําไปใชเปนสวนประกอบ หลักในการผลิตสินคาในหลายอุตสาหกรรมไดปรับลด ปริมาณลง ซึ่งเปนผลสืบเนื่องมาจากการจับจายใชสอย ของภาคครัวเรือนที่ปรับตัวลดลง
ดัชนีอัตราการใชกําลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มเดือนพฤษภาคม 2557 ปรับตัว ลดลงรอยละ 6.92 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีอัตราการใชกําลังการผลิตอยูที่ระดับ 49.33 ใน กลุมสินคาสําคัญยังคงปรับตัวลดลงตอเนื่องติดตอกัน ตั้งแตในชวงตนป 56 กลุมสินคาปรับตัวลดลง ไดแก 1) ปลาทูนากระปอง (ปรับลดลงรอยละ 23.00) ปจจัย สําคัญมาจากตลาดการบริโภคทูนากระปองในกลุม ลูกคาสวนใหญ ไดแก สหรัฐฯ ญี่ปุน สหภาพยุโรป และ อาเซียน มีคําสั่งซื้อโดยรวมปรับลดลงตอเนื่องเมื่อเทียบ กับชวงเดียวกันของปกอน (เดือนม.ค.-มิ.ย.) จากภาวะ เศรษฐกิจที่เริ่มฟนตัวและเปนบวกเล็กนอย ในขณะที่ กลุมประเทศที่ยังคงมีความตองการบริโภค ทูนา กระปองเพิ่มขึ้น ไดแก ออสเตรเลีย และตะวันออกกลาง เนื่องจากความเชื่อมั่นที่มีตอภาวะทางเศรษฐกิจ ภายในประเทศดังกลาว 2) เครื่องปรุงรส (ปรับลดลง รอยละ 17.61) ตลาดผูบริโภคทั้งภายในประเทศและ ตางประเทศยังชะลอตัวลดลง เนื่องจากปญหาการเมือง ภายในประเทศในเดือน พ.ค. 57 ประกอบกับภาวะ เศรษฐกิจในตางประเทศที่ยังไมดีข้ึน จึงทําใหไมเกิดแรง กระตุนเพื่อการบริโภค อีกทั้งปริมาณและระดับราคา ของวัตถุดิบที่สําคัญตอภาคการผลิตมีความผันผวนเพิ่ม มากขึ้นในตลาด จากสภาพอากาศที่มีความแปรปรวน จึงสงผลตอกําลังการผลิตในเดือน พ.ค. 57 ใหปรับ ลดลง 3) แปงมันสําปะหลัง (ปรับลดลงรอยละ 8.39) มันสําปะหลังซึ่งเปนวัตถุดิบที่สําคัญมีปริมาณผลผลิต ลดลง เปนผลจากปริมาณน้ําฝนที่มีมากเกินไปทําใหเกิด การระบาดของโรคและสรางความเสียหายใหกับผลผลิต ที่รอเก็บเกี่ยว โรงงานผูผลิตและแปรรูปบางสวนตอง เริ่มลดกําลังการผลิตลง เพื่อใหสอดรับกับวัตถุดิบที่มี เขามา ดานการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทย ตางไดรับผลกระทบจากปริมาณคําสั่งซื้อที่ลดลงเชนกัน ดวยความตองการนําเขาเพื่อนําไปใชเปนสวนประกอบ หลักในการผลิตสินคาในหลายอุตสาหกรรมไดปรับลด ปริมาณลง ซึ่งเปนผลสืบเนื่องมาจากการจับจายใชสอย ของภาคครัวเรือนที่ปรับตัวลดลง
download PDF ย้อนกลับ