สวัสดี

Monthly Situation

รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือนธันวาคม 2557

ธันวาคม 2557

รายละเอียด :

รายงานสถานการณ์อตุสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

ธันวาคม  2557

 

ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม

          ดัชนีอัตราการใช้ก้าลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่ม เดือนตุลาคม 2557 มีอัตราขยายตัวจากเดือนที่แล้ว เล็กน้อย แต่ยังมีการผลิตน้อยกว่า ต.ค. ปีที่แล้ว   แนวโน้มการ ใช้ก้าลังการผลิตภาพรวม 10 เดือน อยู่ที่ร้อยละ 48.09 โดยการ ผลิตสินค้าหมวดซาร์ดีนกระป๋อง อาหารทะเลแช่แข็ง สับปะรด กระป๋อง คุกกี้ เค้ก น้้าปลา เบียร์ น้้ามันถั่วเหลือง มีการเพิ่ม ก้าลังการผลิตมากกว่าเดือน ก.ย. เพื่อรองรับเทศกาลบริโภคที่ ก้าลังมาถึงคือช่วงคริสต์มาสและปีใหม่ ขณะที่ดัชนีการส่งสินค้า อาหารและเครื่องดื่มเดือน ต.ค. ยังปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนที่แล้ว ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสัญญาณที่ดีในการจัดส่งสินค้าสู่ตลาดได้มากขึ้น  โดยดัชนีการส่งสินค้า 10 เดือนอยู่ที่ร้อยละ 131.03  สินค้าที่มี ดัชนีการส่งสินค้าเพิ่มมากขึ้นกว่าเดือนที่แล้ว เช่น ทูน่ากระป๋อง ซาร์ดีนกระป๋อง อาหารทะเลแช่แข็งทุกรายการ ผักผลไม้อบแห้ง คุกกี้ เค้ก น้้ามันร้าข้าวดิบ แป้งมันส้าปะหลัง เบียร์  เป็นต้น พบว่าแนวโน้มการส่งสินค้าดีขึ้นทั้งสินค้าส่งออกและเพื่อบริโภค ในประเทศ   

รายงานสถานการณ์อตุสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน

ธันวาคม  2557

 

ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม

          ดัชนีอัตราการใช้ก้าลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่ม เดือนตุลาคม 2557 มีอัตราขยายตัวจากเดือนที่แล้ว เล็กน้อย แต่ยังมีการผลิตน้อยกว่า ต.ค. ปีที่แล้ว   แนวโน้มการ ใช้ก้าลังการผลิตภาพรวม 10 เดือน อยู่ที่ร้อยละ 48.09 โดยการ ผลิตสินค้าหมวดซาร์ดีนกระป๋อง อาหารทะเลแช่แข็ง สับปะรด กระป๋อง คุกกี้ เค้ก น้้าปลา เบียร์ น้้ามันถั่วเหลือง มีการเพิ่ม ก้าลังการผลิตมากกว่าเดือน ก.ย. เพื่อรองรับเทศกาลบริโภคที่ ก้าลังมาถึงคือช่วงคริสต์มาสและปีใหม่ ขณะที่ดัชนีการส่งสินค้า อาหารและเครื่องดื่มเดือน ต.ค. ยังปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนที่แล้ว ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสัญญาณที่ดีในการจัดส่งสินค้าสู่ตลาดได้มากขึ้น  โดยดัชนีการส่งสินค้า 10 เดือนอยู่ที่ร้อยละ 131.03  สินค้าที่มี ดัชนีการส่งสินค้าเพิ่มมากขึ้นกว่าเดือนที่แล้ว เช่น ทูน่ากระป๋อง ซาร์ดีนกระป๋อง อาหารทะเลแช่แข็งทุกรายการ ผักผลไม้อบแห้ง คุกกี้ เค้ก น้้ามันร้าข้าวดิบ แป้งมันส้าปะหลัง เบียร์  เป็นต้น พบว่าแนวโน้มการส่งสินค้าดีขึ้นทั้งสินค้าส่งออกและเพื่อบริโภค ในประเทศ   

 

น้้ามันปาล์ม มีสัดส่วนตลาดถึงร้อยละ 65 ของตลาดน้้ามันพืชที่ใช้ในครัวเรือน ปี 2557 นี้ ไม่มีปัญหาด้านปริมาณผลผลิต ท้า ให้ภาวะการผลิต สต็อกสินค้า และการจ้าหน่ายอยู่ในระดับเดียวกับปีที่แล้ว ตลาดมีการแข่งขันค่อนข้างสูง ถึงแม้จะเป็นสินค้า ควบคุมราคาจ้าหน่ายก็ตาม น้้าผลไม้ พบว่าอัตราการใช้ก้าลังการผลิตในปีนี้ลดลงจากปีที่แล้ว มีผลผลิตลดลง มีการระบาย สินค้าในสต็อกออกมาจ้าหน่ายแทนการผลิตเพิ่ม เนื่องจากตลาดที่ทรงตัว จะเห็นได้จากดัชนีการส่งสินค้าที่มีค่าใกล้เคียงปีที่ แล้ว  นมพร้อมดื่ม ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมมูลค่าเพิ่มปรับสูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา รวมทั้งดัชนีการส่งสินค้าที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น แสดงถึงตลาดที่เติบโตเพิ่มขึ้น โดยในปีนี้มีผู้ผลิตหลายรายได้ออกสินค้าระดับพรีเมี่ยมเพื่อสร้างตลาดใหม่ๆ ตลาดโดยรวมมี อัตราขยายตัวค่อนข้างต่้า ประมาณร้อยละ 4 ทั้งนี้ อัตราการบริโภคนมพร้อมดื่มของไทยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 14 ลิตร/คน/ปี ถือว่า ยังมีช่องการขยายตัวอีกมากเมื่อเทียบกับอัตราการดื่มนมในภูมิภาคอาเซียนเฉลี่ยอยู่ที่ 60 ลิตร/คน/ปี  ซาร์ดีนกระป๋อง เป็น สินค้าพื้นฐานส้าหรับครัวเรือนที่มีรายได้ปานกลางถึงต่้าและผู้อาศัยในต่างจังหวัด พบว่าช่วง 10 เดือนมีการใช้ก้าลังการผลิตต่้า กว่าปี 56 ต่อเนื่องตั้งแต่ต้นปี จนมาถึง เดือน ก.ย.-ต.ค. เริ่มมีการผลิตเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ภาพรวมตลอด 10 เดือน ดัชนี ผลผลิตยังต่้ากว่าปีที่ผ่านมา ส่วนหนึ่งจากปัญหาขาดแคลนวัตถุดิบปลาถึงแม้จะดีขึ้นกว่าปีก่อนบ้าง ท้าให้สินค้าส้าเร็จรูปคง คลังลดลง และตลาดในประเทศก็ชะลอตัว

การน้าเข้า – ส่งออก

          มูลค่านำเข้าอาหารและเครื่องดื่ม 11 เดือนปี 2557 เท่ากับ 366,954.32 ล้าน บาท มีอัตราขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.42 จากปีก่อน แหล่งน้าเข้าส้าคัญ 5 อันดับแรกคือ สหรัฐอเมริกา(สัดส่วน 13.12%) บราซิล(สัดส่วน 11.84%)  จีน(สัดส่วน 10.78%)  ออสเตรเลีย(สัดส่วน 5.25%)  และอาร์เจนตินา (สัดส่วน 4.86%)  มีสัดส่วนรวมกันถึงร้อย ละ 45.85 ของมูลค่าน้าเข้าทั้งหมด

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ติดต่อสอบถามข้อมูล ต่อ 3122 ติดต่อสมาชิกสถาบันอาหาร ต่อ 8101