มกราคม 2558
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
มกราคม 2558
ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
ดัชนีอัตราการใช้กำลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เดือนพฤศจิกายน 2557 มีค่าร้อยละ 48.45 ของก าลังการผลิตอาหาร และเครื่องดื่มทั้งหมด มีอัตราขยายตัวจากเดือนที่แล้วเล็กน้อย แต่ยังมี การผลิตน้อยกว่า พ.ย. ปีที่แล้ว แนวโน้มอัตราการใช้ก าลังการผลิต ภาพรวม 11 เดือน อยู่ที่ร้อยละ 48.12 สถานการณ์ในปีนี้คาดว่าเกือบ ทั้งปีจะมีอุตสาหกรรมอาหารจะมีอัตราการใช้ก าลังการผลิตต่ ากว่าปี 2557 พบว่าสินค้าที่มีอัตราการใช้ก าลังการผลิตโดยเฉลี่ยรวม 11 เดือน สูงกว่าปีที่แล้ว มากกว่าร้อยละ 10 มีเพียงการผลิตลูกชิ้นหมู หมึกแช่แข็ง น้ ามันถั่วเหลืองดิบและบริสุทธิ์ น้ ามันร าข้าวดิบ นมข้น หวาน และน้ าตาลทรายดิบ ส่วนสินค้าที่มีอัตราการใช้ก าลังการผลิตต่ า กว่าปี 2556 มากกว่าร้อยละ 10 เช่น ลูกชิ้นไก่ ซาร์ดีนกระป๋อง กุ้งแช่ แข็ง สับปะรดกระป๋อง น้ ามันปาล์มดิบ ไอศกรีม น้ าปลา ขณะที่ดัชนีการส่งสินค้าอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ถึงการ กระจายสินค้าสู่ตลาดมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องนับตั้งแต่เดือน ส.ค. จนถึงเดือน พ.ย. มีค่าอยู่ที่ร้อยละ 139.20 สินค้าที่มีดัชนีการส่ง สินค้าขยายตัวมากกว่าร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับเดือน ต.ค. ที่ส าคัญ คือ ไก่แช่แข็ง ซาร์ดีนกระป๋อง ข้าวโพดฝักอ่อนกระป๋อง น้ าผลไม้ น้ าตาล ทรายดิบและบริสุทธิ์ คุกกี้ ผงชูรส โซดา แสดงถึงความต้องการตลาดที่ มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้า
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
มกราคม 2558
ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
ดัชนีอัตราการใช้กำลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เดือนพฤศจิกายน 2557 มีค่าร้อยละ 48.45 ของก าลังการผลิตอาหาร และเครื่องดื่มทั้งหมด มีอัตราขยายตัวจากเดือนที่แล้วเล็กน้อย แต่ยังมี การผลิตน้อยกว่า พ.ย. ปีที่แล้ว แนวโน้มอัตราการใช้ก าลังการผลิต ภาพรวม 11 เดือน อยู่ที่ร้อยละ 48.12 สถานการณ์ในปีนี้คาดว่าเกือบ ทั้งปีจะมีอุตสาหกรรมอาหารจะมีอัตราการใช้ก าลังการผลิตต่ ากว่าปี 2557 พบว่าสินค้าที่มีอัตราการใช้ก าลังการผลิตโดยเฉลี่ยรวม 11 เดือน สูงกว่าปีที่แล้ว มากกว่าร้อยละ 10 มีเพียงการผลิตลูกชิ้นหมู หมึกแช่แข็ง น้ ามันถั่วเหลืองดิบและบริสุทธิ์ น้ ามันร าข้าวดิบ นมข้น หวาน และน้ าตาลทรายดิบ ส่วนสินค้าที่มีอัตราการใช้ก าลังการผลิตต่ า กว่าปี 2556 มากกว่าร้อยละ 10 เช่น ลูกชิ้นไก่ ซาร์ดีนกระป๋อง กุ้งแช่ แข็ง สับปะรดกระป๋อง น้ ามันปาล์มดิบ ไอศกรีม น้ าปลา ขณะที่ดัชนีการส่งสินค้าอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ถึงการ กระจายสินค้าสู่ตลาดมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องนับตั้งแต่เดือน ส.ค. จนถึงเดือน พ.ย. มีค่าอยู่ที่ร้อยละ 139.20 สินค้าที่มีดัชนีการส่ง สินค้าขยายตัวมากกว่าร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับเดือน ต.ค. ที่ส าคัญ คือ ไก่แช่แข็ง ซาร์ดีนกระป๋อง ข้าวโพดฝักอ่อนกระป๋อง น้ าผลไม้ น้ าตาล ทรายดิบและบริสุทธิ์ คุกกี้ ผงชูรส โซดา แสดงถึงความต้องการตลาดที่ มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้า
สถานการณ์ผลผลิตปาล์มออกสู่ตลาดลดลงตั้งแต่ ต.ค. 2557 ทำให้ราคาผลปาล์มและน้ำมันปาล์มดิบปรับตัว สูงขึ้น สอดคล้องกับภาวะการผลิตของโรงงานที่มีอัตรา การใช้ก าลังการผลิตน้ ามันปาล์มดิบลดต่ ากว่าปี 2556 นับแต่ ก.ค. เป็นต้นมา ส่วนน้ ามันปาล์มบริสุทธิ์อัตราการ ใช้ก าลังการผลิตเริ่มลดลงในเดือน ต.ค. และดัชนีสินค้า ส าเร็จรูปคงคลังน้ ามันปาล์มดิบลดลงเหลือเพียงร้อยละ 41.64 ในเดือน พ.ย. จากเดือน ต.ค.ที่มีถึงร้อยละ 80.26
เพื่อแก้ปัญหาด้านปริมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการทั้งด้านพลังงานและการบริโภค ราคาน้ำมันปาล์มที่ปรับสูงขึ้น และเพื่อไม่ให้ กระทบต่อเกษตรกร คณะกรรมการปาล์มน้ำมันนโยบายแห่งชาติ(กนป.) และ รมต. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงมีมติเห็นชอบให้ องค์การคลังสินค้านำเข้าน้ำมันปาล์ม 50,000 ตัน ให้แล้วเสร็จภายในกลาง ก.พ. 2558 และก าหนดราคาน้ำมันปาล์มบรรจุขวดลิตรละ 42 บาท โดยคาดว่าเดือน มี.ค. ผลผลิตของเกษตรกรน่าจะออกสู่ตลาดมากขึ้น ท าให้สถานการณ์คลี่คลายลง โดยน้ ามันปาล์มล็อตแรก น าเข้าจากอินโดนีเซีย 9,000 ตัน จะมาถึงไทย 29 ม.ค. นี้ นอกจากนี้ กนป. ยังมีมติให้เปิดตลาดน าเข้าน้ ามันปาล์มและน้ำมันเมล็ดใน ปาล์ม ปี 2558 ตามข้อผูกพันของทุกกรอบการค้าระหว่างประเทศ และให้มีการบริหารการนำเข้าตามความตกลงทุกกรอบการค้า ระหว่างประเทศ เช่นเดียวกับกรอบ WTO คือ ให้องค์การคลังสินค้า (อคส.) เป็นผู้นำเข้าและกระจายให้ผู้ผลิตภายในประเทศตามที่สมาคมโรงกลั่นน้ำมันปาล์มเป็นผู้จัดสรร
download PDF ย้อนกลับ