กุมภาพันธ์ 2558
ดัชนีอัตราการใช้ก้าลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เดือนธันวาคม 2557 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ย. เล็กน้อยมีค่าอยู่ที่ ร้อยละ 52.05 ท้าให้สรุปภาพรวมอัตราการใช้ก้าลังการผลิตปี 2557 ทั้งปีเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 48.47 มีอัตราลดลงจากปี 2556 ร้อยละ 6.37 จากกราฟจะเห็นได้ว่าตลอดทั้งปีอุตสาหกรรมมีการใช้ก้าลังการ ผลิตต่้ากว่าปี 2556 เกือบทุกเดือน ยกเว้นในเดือนธันวาคมที่ปรับตัว สูงกว่าปี 2556 ซึ่งถือว่าเป็นสัญญานที่ดี ส้าหรับดัชนีการส่งสินค้าอาหารและเครื่องดื่ม เดือน ธ.ค. มีค่าอยู่ที่ ร้อยละ 143.48 ภาพรวมทั้งปีจึงเป็นร้อยละ 132.77 ยังต่้ากว่าปีก่อน หน้าร้อยละ 5.2 โดยจากดัชนีพบว่าสัญญานการส่งมอบสินค้าของ ผู้ผลิตเริ่มมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นตั้งแต่ช่วงกลางปี ดัชนีสินค้าส้าเร็จรูปคงคลัง ซึ่งสะท้อนปริมาณสินค้าส้าเร็จรูปที่มีเก็บ สะสมไว้หากปริมาณสูงมากเกินไปก็จะเป็นภาระของโรงงาน พบว่าใน เดือน ธ.ค. มีค่าอยู่ที่ร้อยละ 153.71 ดัชนีมีค่าลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ ต.ค. โดยภาพรวมทั้งปีมีค่าดัชนีเท่ากับ 226.69 มีอัตราลดลงจากปีที่แล้ว
ดัชนีอัตราการใช้ก้าลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เดือนธันวาคม 2557 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ย. เล็กน้อยมีค่าอยู่ที่ ร้อยละ 52.05 ท้าให้สรุปภาพรวมอัตราการใช้ก้าลังการผลิตปี 2557 ทั้งปีเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 48.47 มีอัตราลดลงจากปี 2556 ร้อยละ 6.37 จากกราฟจะเห็นได้ว่าตลอดทั้งปีอุตสาหกรรมมีการใช้ก้าลังการ ผลิตต่้ากว่าปี 2556 เกือบทุกเดือน ยกเว้นในเดือนธันวาคมที่ปรับตัว สูงกว่าปี 2556 ซึ่งถือว่าเป็นสัญญานที่ดี ส้าหรับดัชนีการส่งสินค้าอาหารและเครื่องดื่ม เดือน ธ.ค. มีค่าอยู่ที่ ร้อยละ 143.48 ภาพรวมทั้งปีจึงเป็นร้อยละ 132.77 ยังต่้ากว่าปีก่อน หน้าร้อยละ 5.2 โดยจากดัชนีพบว่าสัญญานการส่งมอบสินค้าของ ผู้ผลิตเริ่มมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นตั้งแต่ช่วงกลางปี ดัชนีสินค้าส้าเร็จรูปคงคลัง ซึ่งสะท้อนปริมาณสินค้าส้าเร็จรูปที่มีเก็บ สะสมไว้หากปริมาณสูงมากเกินไปก็จะเป็นภาระของโรงงาน พบว่าใน เดือน ธ.ค. มีค่าอยู่ที่ร้อยละ 153.71 ดัชนีมีค่าลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ ต.ค. โดยภาพรวมทั้งปีมีค่าดัชนีเท่ากับ 226.69 มีอัตราลดลงจากปีที่แล้ว
การนำเข้า-การส่งออก
เดือนมกราคม 2558 มูลค่าน้าเข้าสินค้าวัตถุดิบและอาหารแปรรูป อยู่ที่ 28,035.50* ล้าน บาท มีอัตราลดลงจากเดือนเดียวกันปี 2557 ร้อยละ 3.33 ทั้งนี้ มีสาเหตุส้าคัญจากการน้าเข้าสกิปแจ็ค ทูน่าแช่แข็งซึ่งเป็นสินค้าที่มีสัดส่วนน้าเข้าสูงปริมาณลดลงร้อยละ 20.50 มูลค่าลดลงร้อยละ 35.27 ขณะที่ทูน่าครีบเหลืองน้าเข้าปริมาณลดลงร้อยละ 5.43 มูลค่าลดลงร้อยละ 22.22 อย่างไรก็ตาม มี การน้าเข้าข้าวสาลีในเดือนมกราคม 2558 เพิ่มขึ้นกว่า 3 เท่าตัวเชิงปริมาณและมูลค่าเมื่อเทียบกับปี 2557 เช่นเดียวกับการน้าเข้าหมึกกล้วยแช่แข็ง ปลาซาร์ดีน และแม็คเคอเรลแช่แข็ง ที่ปริมาณน้าเข้า เพิ่มขึ้นมากกว้าร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว แสดงถึงความต้องการของภาคอุตสาหกรรมในการแปรรูป สินค้ากลุ่มนี้ที่ยังมีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง
สำหรับการส่งออกสินค้าอาหารในเดือนมกราคม มีมูลค่า 66,623.47* ล้านบาท มี อัตราลดลงจากช่วงเดียวกันของปี 2557 ร้อยละ 1.97 สินค้าส่งออกที่ส้าคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ ไก่แปรรูป มูลค่าส่งออก 33,610.95 ล้านบาท(ลดลง 5.11%) ข้าวหอมมะลิ 100% เกรด บี มูลค่า 3,963.16 ล้านบาท (ลดลง 6.56%) ทูน่าแปรรูป มูลค่า 3,844.53 ล้านบาท (ลดลง 18.65%) สตาร์ชมันส้าปะหลัง มูลค่า 3,528.60 ล้านบาท (เพิ่มขึ้น 13.13%) และกุ้งขาวแปร รูป มูลค่า 2,041.38 ล้านบาท (เพิ่มขึ้น 1.21%) ทั้งนี้ หากพิจารณาในภาพรวมพบว่า กลุ่มสินค้า ส่งออกส้าคัญ เช่น ข้าว น้้าตาลทราย ไก่แปรรูป ผักสดแช่เย็นแช่แข็ง ล้วนส่งออกมูลค่าลดลงเมื่อ เทียบกับเดือน ม.ค. 2557
download PDF ย้อนกลับ