เมษายน 2558
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
เมษายน 2558
ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
ดัชนีอัตราการใช้กำลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่ม เดือนกุมภาพันธ์ มีค่าร้อยละ 50.04 เมื่อเทียบกับ เดือน ก.พ. 2557 เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.34 อุตสาหกรรมที่เน้น ส่งออกซึ่งมีอัตราการใช้ก าลังการผลิตขยายตัวเพิ่มขึ้นมากกว่า ร้อยละ 10 ที่ส าคัญ เช่น กุ้งแช่แข็ง หมึกแช่แข็ง ข้าวโพดฝักอ่อน กระป๋อง น้ าตาลทรายดิบ ส าหรับกุ้งแช่แข็งนั้นดัชนีการส่งสินค้า และดัชนีสินค้าส าเร็จรูปคงคลังยังคงลดลงต่ ากว่าช่วงเดียวกันของ ปี 2557 เป็นผลจากการที่ราคาตลาดโลกปรับลดลง และไทยเสีย ส่วนแบ่งให้ประเทศคู่แข่งไปบางส่วน เพราะผู้ซื้อไม่มั่นใจว่าจะมี สินค้าจัดส่ง ท าให้ไม่มียอดค าสั่งซื้อเข้ามา อุตสาหกรรมที่เน้น ตลาดในประเทศที่มีอัตราการใช้ก าลังการผลิตเพิ่มขึ้น มากกว่า ร้อยละ 10 ที่ส าคัญ เช่น นมพร้อมดื่ม น้ ามันปาล์มบริสุทธิ์ ลูกชิ้น หมู ขนมปังเวเฟอร์ เค้ก ซอสถั่วเหลือง ซีอิ๊ว เต้าเจี้ยว เบียร์ สินค้ากลุ่มนี้มีดัชนีการส่งสินค้าขยายตัวเพิ่มขึ้นด้วย ซึ่งมาจาก ความต้องการของตลาดที่เพิ่มขึ้น ส่วนอุตสาหกรรมที่เน้นการ ส่งออกและมีอัตราการใช้ก าลังการผลิตลดลงจากปีที่แล้วมากกว่า ร้อยละ 10 ที่ส าคัญ เช่น ปลาแช่แข็ง สับปะรดกระป๋อง น้ าผลไม้ เนื่องจากขาดแคลนวัตถุดิบ ส่วนอุตสาหกรรมที่เน้นตลาดใน ประเทศที่มีอัตราการใช้ก าลังการผลิตลดลง มากกว่าร้อยละ 10 ที่ส าคัญ เช่น แฮม ลูกชิ้นไก่ น้ าปลา น้ ามันปาล์มดิบ เนื่องจาก ตลาดที่ชะลอตัวลงโดยสัมพันธ์กับดัชนีการส่งสินค้าที่ลดลงด้วย
รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรมอาหารไทยรายเดือน
เมษายน 2558
ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
ดัชนีอัตราการใช้กำลังการผลิตของอุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่ม เดือนกุมภาพันธ์ มีค่าร้อยละ 50.04 เมื่อเทียบกับ เดือน ก.พ. 2557 เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.34 อุตสาหกรรมที่เน้น ส่งออกซึ่งมีอัตราการใช้ก าลังการผลิตขยายตัวเพิ่มขึ้นมากกว่า ร้อยละ 10 ที่ส าคัญ เช่น กุ้งแช่แข็ง หมึกแช่แข็ง ข้าวโพดฝักอ่อน กระป๋อง น้ าตาลทรายดิบ ส าหรับกุ้งแช่แข็งนั้นดัชนีการส่งสินค้า และดัชนีสินค้าส าเร็จรูปคงคลังยังคงลดลงต่ ากว่าช่วงเดียวกันของ ปี 2557 เป็นผลจากการที่ราคาตลาดโลกปรับลดลง และไทยเสีย ส่วนแบ่งให้ประเทศคู่แข่งไปบางส่วน เพราะผู้ซื้อไม่มั่นใจว่าจะมี สินค้าจัดส่ง ท าให้ไม่มียอดค าสั่งซื้อเข้ามา อุตสาหกรรมที่เน้น ตลาดในประเทศที่มีอัตราการใช้ก าลังการผลิตเพิ่มขึ้น มากกว่า ร้อยละ 10 ที่ส าคัญ เช่น นมพร้อมดื่ม น้ ามันปาล์มบริสุทธิ์ ลูกชิ้น หมู ขนมปังเวเฟอร์ เค้ก ซอสถั่วเหลือง ซีอิ๊ว เต้าเจี้ยว เบียร์ สินค้ากลุ่มนี้มีดัชนีการส่งสินค้าขยายตัวเพิ่มขึ้นด้วย ซึ่งมาจาก ความต้องการของตลาดที่เพิ่มขึ้น ส่วนอุตสาหกรรมที่เน้นการ ส่งออกและมีอัตราการใช้ก าลังการผลิตลดลงจากปีที่แล้วมากกว่า ร้อยละ 10 ที่ส าคัญ เช่น ปลาแช่แข็ง สับปะรดกระป๋อง น้ าผลไม้ เนื่องจากขาดแคลนวัตถุดิบ ส่วนอุตสาหกรรมที่เน้นตลาดใน ประเทศที่มีอัตราการใช้ก าลังการผลิตลดลง มากกว่าร้อยละ 10 ที่ส าคัญ เช่น แฮม ลูกชิ้นไก่ น้ าปลา น้ ามันปาล์มดิบ เนื่องจาก ตลาดที่ชะลอตัวลงโดยสัมพันธ์กับดัชนีการส่งสินค้าที่ลดลงด้วย
อัตราการใช้กำลังการผลิตอุตสาหกรรมสกัดน้ำมันปาล์มดิบในเดือน ก.พ. 58 มีค่าร้อยละ 21.88 ยังต่ ากว่าปีที่แล้วช่วง เดียวกัน เพราะผลผลิตยังออกมาไม่มาก ดัชนีการส่งสินค้าลดลงจากปี 57 ถึงร้อยละ 28.36 อย่างไรก็ตาม ดัชนีสินค้า ส าเร็จรูปคงคลังของน้ ามันปาล์มดิบก์ยังต่ ากว่าปีที่แล้วถึงร้อยละ 15.60 ในเดือนเมษายนผลผลิตปาล์มที่ออกสู่ตลาดมากขึ้นตามฤดูกาลปกติของทุกปี ราคาผลผลิตปาล์มน้ ามันตกต่ า รวมทั้ง ราคาน้ ามันปาล์มในตลาดโลกที่เคลื่อนไหวอยู่ในระดับต่ าต่อเนื่อง ท าให้ผู้ประกอบการไม่ส่งออกน้ ามันปาล์ม และโรง สกัดน้ ามันปาล์มดิบกว่า 45 โรง ปิดรับซื้อผลผลิตปาล์มน้ำมันตั้งแต่ 30 เมษายน เกษตรกรออกมายื่นข้อเรียกร้องให้รัฐบาลแทรกแซงราคาหน้าลานเทและสนับสนุนปัจจัยการผลิต
การนำเข้า – ส่งออก มูลค่านำเข้าสินค้าวัตถุดิบ อาหารแปรรูปและเครื่องดื่มเดือนมกราคม-มีนาคม อยู่ที่ 82,278.11 * ล้านบาท
มีอัตราขยายตัวเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปี 2557 ร้อยละ 6.10 ทั้งนี้ มี สาเหตุสำคัญจากการน าเข้าข้าวสาลีมูลค่าเพิ่มขึ้น 5,857.88 ล้านบาท ปริมาณเพิ่มขึ้น 720,525 ตัน จากช่วงเดียวกันของปี 2557 เนื่องจากราคาต่อตันในตลาดโลกที่ลดต่ าลง เพราะผลผลิตข้าว สาลีในตลาดโลกที่เพิ่มขึ้นมากกว่าปีที่แล้ว เนื่องจากปริมาณผลผลิตของจีน สหรัฐอเมริกา ตุรกี โมร็อกโก ออสเตรเลีย อิหร่าน เป็นต้น รวมทั้งมูลค่าการน าเข้านมผงที่มีไขมันไม่เกินร้อยละ 1.5 โดยน้ำหนักที่บรรจุในภาชนะขนาด 20 กก. ขึ้นไป หมึกกล้วยแช่แข็ง ที่เพิ่มมากขึ้นกว่าปีที่แล้ว
download PDF ย้อนกลับ