สวัสดี

อินเดียแก้ไขมาตรฐานรายชื่อสายพันธุ์ปลาที่อาจจะก่อให้เกิดสารพิษฮีสตามีน (Histamine) และปริมาณสูงสุดของฮีสตามีนในปลาและผลิตภัณฑ์ประมง

แชร์:
Favorite (38)

19 กุมภาพันธ์ 2560

      เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2560 สำนักงานความปลอดภัยด้านอาหารและมาตรฐานของอินเดีย (Food Safety and Standards Authority of India : FSSAI) ประกาศแก้ไขกฎหมายความปลอดภัยด้านอาหารและมาตรฐาน (สารปนเปื้อน สารพิษ และสารตกค้าง) เรื่อง รายชื่อสายพันธุ์ปลาที่อาจจะก่อให้เกิดสารพิษฮีสตามีน (Histamine) และปริมาณสูงสุดของฮีสตามีนในปลาและผลิตภัณฑ์ประมง  ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2560 เป็นต้นไป โดยมีรายละเอียด ดังนี้

  1. รายชื่อสายพันธุ์ปลาที่อาจจะก่อให้เกิดสารพิษฮีสตามิน (Histamine)

          

          

          

   2. ปริมาณสูงสุดของฮีสตามีน (Histamine) ในปลาและผลิตภัณฑ์ประมง

ลำดับ

หมวดผลิตภัณฑ์

บังคับใช้กับ

ปริมาณฮีสตามีน (Histamine)

1.

Raw/Chilled/Frozen Finfish

สายพันธุ์ที่มีปริมาณฮีสติดีนอิสระสูง (รายชื่อสายพันธุ์ปลาที่อาจจะก่อให้เกิดสารพิษฮีสตามีน)

n=9, c=2; m=100 mg/kg, M=200 mg/kg

2.

Thermally Processed Fishery Products

n=9, c=2; m=100 mg/kg, M=200 mg/kg

3.

Smoked fishery products

n=9, c=2; m=100 mg/kg, M=200 mg/kg

4.

Fish Mince/Surimi and analogues

n=9, c=2; m=100 mg/kg, M=200 mg/kg

5.

Battered and breaded fishery products

n=9, c=2; m=100 mg/kg, M=200 mg/kg

6.

Other Ready to Eat fishery products

n=9, c=2; m=100 mg/kg, M=200 mg/kg

7.

Other value added fishery products

n=9, c=2; m=100 mg/kg, M=200 mg/kg

8.

Other fish based products

n=9, c=2; m=100 mg/kg, M=200 mg/kg

9.

Dried/ Salted and Dried fishery products

n=9, c=2; m=200 mg/kg, M=400 mg/kg

10.

Fermented Fishery products

n=9, c=2; m=200 mg/kg, M=400 mg/kg

11.

Fish Pickle

n=9, c=2; m=200 mg/kg, M=400 mg/kg

หมายเหตุ

          n : จำนวนตัวอย่างที่ต้องนำมาตรวจสอบจากสินค้าแต่ละล็อต

          c : จำนวนตัวอย่างสูงสุดที่ยอมให้พบในระดับสูงกว่าค่ากำหนด

          m : ระดับที่ยอมรับได้ในตัวอย่างที่ตรวจสอบ

          M : ระดับที่พบในตัวอย่างที่ตรวจสอบและมีผลให้ไม่ยอมรับสินค้าล็อตที่ตรวจสอบ

 

ที่มา :  Food Safety and Standards Authority of India. Revision of the Standards of list of Histamine Forming Fish species and limits of Histamine level for Fish and Fishery products. http://www.fssai.gov.in/. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2560.

 

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ติดต่อสอบถามข้อมูล ต่อ 3122 ติดต่อสมาชิกสถาบันอาหาร ต่อ 8101