TOP
ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร
Food Industry
Thailand Food Industry Profile
Overview
Sector Monitor
Thailand Food Industry Update
Monthly Situation
Quarterly Situation
Area-based Industry
Hot issue
Food Directory
Market Intelligence
Market Intelligence
Thailand Food Market Report
Market Report
Market Share
World Food Market Report
Situation Report
Market Report
World food update
Market Trend
Global Food Industry Profile
Law & Regulations
Food Law
NFI Food Safety Early Warning
World Food Law & Reg. News
Food Law and Regulations Corner
Technology
Technology
Innovation corner
NFI R&D Project
Statistics
เกี่ยวกับเรา
บริการ
Knowledge
ถาม-ตอบ
ติดต่อเรา
ค้นหา
LOG IN
สมัครสมาชิก
เกี่ยวกับเรา
บริการ
Knowledge
ถาม-ตอบ
ติดต่อเรา
LOG IN
สมัครสมาชิก
SEARCH
by Date :
to :
--- Categories ---
SEARCH
MEMBER LOG IN
Username
Password
SIGN IN
การดาวน์โหลดไฟล์ PDF ในครั้งแรก ถ้าระบบไม่ลิงค์ไปยังไฟล์ที่กดให้สังเกตุที่แทบบาร์ด้านบน โดยจะต้องกดปลดบล็อค Pop Up ที่ Browser ก่อนค่ะ
สวัสดี
รายละเอียดสมาชิกสถาบันอาหาร
สมัครสมาชิกสถาบันอาหาร
สมัครสมาชิกผู้ใช้งานทั่วไป
แจ้งยืนยันการชำระเงิน
หน้าแรก
Market Intelligence
Global Food Industry Profile
Russia
Detail
อุตสาหกรรมผักผลไม้แปรรูป
จัดทำข้อมูล ณ วันที่ 8 พฤษภาคม 2561
สถานการณ์ปัจจุบัน
การบริโภค
เมียนมาเป็นประเทศหนึ่งที่มีความหลากหลายของผลผลิตทางการเกษตรและมีความอุดมสมบูรณ์อยู่มาก โดยผลไม้ที่ชาวเมียนมานิยมรับประทานมากที่สุด ได้แก่ มะม่วง แตงโม และกล้วย มีปริมาณการบริโภครวม 320 140.8 และ 80 ล้านกิโลกรัม ตามลำดับ ในปี 2555 นอกจากนี้พวกเขายังชื่นชอบผลไม้อื่น เช่น มะละกอ พุทรา อะโวคาโด ส้มโอ ฝรั่ง อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาข้อมูลจาก The Food and Agriculture Organization (FAO) จะพบว่า ชาวเมียนมามีปริมาณการบริโภคผลไม้เฉลี่ยเพียงคนละ 11 กิโลกรัมต่อปี ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของประชากรทั้งโลก (69.09 กิโลกรัมต่อปี) และปริมาณขั้นต่ำที่องค์การอนามัยโลก (WHO) แนะนำให้รับประทานต่อวัน (75 กิโลกรัมต่อปี) ส่วนหนึ่งเป็นเพราะระบบการเพาะปลูกและการชลประทานโดยส่วนใหญ่ยังไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้ผลิตภาพการผลิตทั้งประเทศอยู่ในระดับค่อนข้างต่ำ ประกอบกับผลผลิตที่ได้ส่วนใหญ่ส่งออกไปจำหน่ายต่างประเทศ
การผลิต
ร้อยละ 20 ของผลผลิตผลไม้ที่เก็บเกี่ยวได้ทั้งหมดในเมียนมาจะถูกนำไปแปรรูป และอีกร้อยละ 80 จะนำไปรับประทานในรูปผลสด (รูปที่ 1) ปัจจุบันมีผู้ประกอบการอุตสาหกรรมผักผลไม้แปรรูปในเมืองหลักสำคัญของเมียนมา ได้แก่ เมืองย่างกุ้ง เมืองเนปยีดอ และเมืองมัณฑะเลย์ จำนวน 114 ราย (ที่มา: Myanmar Food and Beverage Product Directory. (2017).) ซึ่งระบบการผลิตในภาพรวมของอุตสาหกรรมยังคงไม่มีการพัฒนามากนัก และส่วนมากเป็นเพียงการแปรรูปขั้นต้นและขั้นกลาง อาทิ การอบแห้ง การแช่แข็ง การคั้นน้ำผักผลไม้ โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีการผลิตที่ไม่ซับซ้อน
download PDF
ย้อนกลับ
สถาบันอาหาร
อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร
2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700
Google map
ติดต่อสอบถาม
Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527