TOP
ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร
Food Industry
Thailand Food Industry Profile
Overview
Sector Monitor
Thailand Food Industry Update
Monthly Situation
Quarterly Situation
Area-based Industry
Hot issue
Food Directory
Market Intelligence
Market Intelligence
Thailand Food Market Report
Market Report
Market Share
World Food Market Report
Situation Report
Market Report
World food update
Market Trend
Global Food Industry Profile
Law & Regulations
Food Law
NFI Food Safety Early Warning
World Food Law & Reg. News
Food Law and Regulations Corner
Technology
Technology
Innovation corner
NFI R&D Project
Statistics
เกี่ยวกับเรา
บริการ
Knowledge
ถาม-ตอบ
ติดต่อเรา
ค้นหา
LOG IN
สมัครสมาชิก
เกี่ยวกับเรา
บริการ
Knowledge
ถาม-ตอบ
ติดต่อเรา
LOG IN
สมัครสมาชิก
SEARCH
by Date :
to :
--- Categories ---
SEARCH
MEMBER LOG IN
Username
Password
SIGN IN
การดาวน์โหลดไฟล์ PDF ในครั้งแรก ถ้าระบบไม่ลิงค์ไปยังไฟล์ที่กดให้สังเกตุที่แทบบาร์ด้านบน โดยจะต้องกดปลดบล็อค Pop Up ที่ Browser ก่อนค่ะ
สวัสดี
รายละเอียดสมาชิกสถาบันอาหาร
สมัครสมาชิกสถาบันอาหาร
สมัครสมาชิกผู้ใช้งานทั่วไป
แจ้งยืนยันการชำระเงิน
หน้าแรก
Market Intelligence
Global Food Industry Profile
Russia
Detail
อุตสาหกรรมน้ำมันประกอบอาหาร
จัดทำข้อมูล ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2561
สถานการณ์ปัจจุบัน
การบริโภค
ปัจจุบันเมียนมามีการบริโภคน้ำมันพืชสำหรับประกอบอาหาร (edible oil) ภายในประเทศรวม 1 ล้านตันต่อปี โดยในปี 2561 คาดการณ์ว่าชาวเมียนมาจะมีปริมาณการบริโภคน้ำมันประกอบอาหาร เฉลี่ยประมาณคนละ 11 กิโลกรัมต่อปี หรือเป็นการบริโภคในระดับครัวเรือนปริมาณ 616 ล้านกิโลกรัม และที่เหลืออีก 384 ล้านกิโลกรัม เป็นการใช้ในระดับบอุตสาหกรรม/ธุรกิจบริการอาหาร คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 62 และ 38 ของปริมาณการบริโภคน้ำมันพืชสำหรับประกอบอาหารทั้งหมดในเมียนมา (รูปที่ 1) โดยทั่วไปชาวเมียนมานิยมรับประทานน้ำมันถั่วลิสง ซึ่งจะนำมาใช้ปรุงแกงเผ็ดให้มีความข้นมัน แต่หลังจากมีการนำเข้าน้ำมันปาล์ม ชาวเมียนมาบางส่วนได้เปลี่ยนไปบริโภคน้ำมันปาล์มทดแทน เนื่องจากมีราคาถูกกว่า
รูปที่ 1 ปริมาณการบริโภคน้ำมันพืชประกอบอาหารในเมียนมา จำแนกตามระดับการนำไปใช้
ที่มา: Su Nandi.
การผลิต
ปัจจุบันเมียนมามีโรงงานผลิตน้ำมันประกอบอาหารประมาณ 2,986 ราย โดยสามารถแบ่งตามขนาดกำลังการผลิตได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีกำลังการผลิตต่ำกว่า 1 ตันต่อวัน จำนวน 1,891 ราย กลุ่มที่มีกำลังการผลิต 1-5 ตันต่อวัน จำนวน 827 ราย และกลุ่มที่มีกำลังการผลิตมากกว่า 5 ตันต่อวัน จำนวน 268 ราย (รูปที่ 2) อย่างไรก็ตาม ด้วยปัญหาด้านการขาดแคลนวัตถุดิบ ส่งผลให้บางรายต้องหยุดการผลิตชั่วคราว โดยมีเพียงร้อยละ 30 ของจำนวนโรงงานผลิตน้ำมันประกอบอาหารทั้งหมดในเมียนมาที่ยังคงดำเนินการผลิตอยู่ในขณะนี้ ซึ่งสามารถผลิตน้ำมันประกอบอาหารได้สูงสุดประมาณ 6 แสนตัน/ปี ในจำนวนนี้เกือบครึ่งเป็นน้ำมันถั่วลิสง ทำให้มีความจำเป็นต้องนำเข้าน้ำมันประกอบอาหารจากต่างประเทศ โดยเฉพาะน้ำมันปาล์มเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการบริโภคภายในประเทศ ทั้งนี้ นอกจากข้อจำกัดด้านวัถุดิบแล้ว อุตสาหกรรมน้ำมันประกอบอาหารของเมียนมายังมี
download PDF
ย้อนกลับ
สถาบันอาหาร
อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร
2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700
Google map
ติดต่อสอบถาม
Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527