สวัสดี

Quarterly Situation

แนวโน้มอุตสาหกรรมอาหารส่งออกของไทยไตรมาส 4/2550

ตุลาคม 2558

รายละเอียด :

   การผลิต ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอาหารของไทยเดือนกรกฎาคม 2550 ลดลงรอยละ 0.5 จากชวงเดือนเดียวกันของป 2549 ซึ่งเปนการ ลดลงตอเนื่องจากเดือนกอน โดยในชวง 7 เดือนแรกป2550 ดัชนี ผลผลิตอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้นรอยละ 3.4 ต่ํากวาคาเฉลี่ยชวงครึ่ง ปแรกที่ขยายตัวอยูที่รอยละ 4.0 โดยในการผลิตน้ำตาลทราย เบียรและ น้ํามันปาลมเปนอุตสาหกรรมหลักที่ทําใหภาพรวมการผลิต อุตสาหกรรมอาหารปรับตัวสูงขึ้นโดยมีปจจัยสนับสนุนจากวัตถุดิบ

ภาวะอุตสาหกรรมอาหารของไทยช่วง 7 เดือนแรก และแนวโน้มไตรมาส 4/2550

กันยายน 2550

          บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

          ภาวะการสงออกสินคาอาหารในชวงครึ่งปแรกยังคงมีทิศทางที่ดี โดยเฉพาะการสงออกข้าวน้ําตาล มันสําปะหลัง ปาลมน้ํามัน ผักและผลไม สด สวนการสงออกสินคาอุตสาหกรรมเกษตรขยายตัวต่ําเนื่องจากการขาด แคลนวัตถุดิบ การแขงขันที่รุนแรงขึ้น และการหดตัวของความต้องการสินคาจากตลาดหลักทั้งสหรัฐอเมริกาและญี่ปุน คาดวาการสงออกโดยรวมจะชะลอตัวลงในครึ่งปหลังโดยไตรมาสที่ 3จะเป็นจุดต่ําสุดของการชะลอตัว และเริ่มฟนตัวในไตรมาสสุดท้าย


  1. การผลิต ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอาหารของไทยเดือนกรกฎาคม 2550 ลดลงรอยละ 0.5 จากชวงเดือนเดียวกันของป2549 ซึ่งเปนการ ลดลงตอเนื่องจากเดือนกอน โดยในชวง 7 เดือนแรกป2550 ดัชนี ผลผลิตอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้นรอยละ 3.4 ต่ํากวาคาเฉลี่ยชวงครึ่ง ปแรกที่ขยายตัวอยูที่รอยละ 4.0 โดยการผลิตน้ําตาลทราย เบียรและ น้ํามันปาลมเปนอุตสาหกรรมหลักที่ทําใหภาพรวมการผลิต อุตสาหกรรมอาหารปรับตัวสูงขึ้นโดยมีปจจัยสนับสนุนจากวัตถุดิบที่ เพียงพอรองรับความตองการสินคาจากตางประเทศที่เพิ่มสูงขึ้น สวน สับปะรดกระปองและสินคาประมง เชนทูนาปลาหมึก การผลิต ปรับตัวลดลงจากการขาดแคลนวัตถุดิบ
  2. การนําเข้า กลุมสินคาจําเปนในการบริโภค เชนผลิตภัณฑนม ผัก และผลไมอาหารทะเลแปรรูปมีการนําเขาเพิ่มขึ้น แตภาวะการชะลอ ของเศรษฐกิจในประเทศทําใหการนําเขาสินคาฟุมเฟอยโดยเฉพาะ เครื่องดื่มแอลกอฮอลมีแนวโนมลดลง สวนการนําเขาสินคาวัตถุดิบ เกษตรและกึ่งสําเร็จรูปขยายตัวต่ําเนื่องจากผูประกอบการมีความ กังวลตอสถานการณสงออก โดยเฉพาะทิศทางการดูแลคาเงินบาท ของรัฐบาล และการชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ
  3. การสงออก ภาวะการสงออกสินคาอาหารในชวงครึ่งปแรกยังคงมี ทิศทางที่ดีโดยเฉพาะการสงออกขาว น้ําตาล มันสําปะหลัง ปาลม น้ํามัน ผักและผลไมสด เนื่องจากผลผลิตโลกในปนี้มีปริมาณจํากัด ทํา ใหสินคาไทยเปนที่ตองการของตลาด สวนการสงออกสินคา อุตสาหกรรมเกษตรขยายตัวต่ํา เชนกุงทูนากระปอง และการสงออก หดตัวลง เชนสับปะรดกระปอง น้ําผลไมเนื่องจากการขาดแคลน วัตถุดิบ การแขงขันที่รุนแรงขึ้น และการหดตัวของความตองการ สินคาจากตลาดหลักทั้งสหรัฐอเมริกาและญี่ปุน อยางไรก็ตาม แม ภาพรวมในชวงครึ่งปแรกการสงออกจะขยายตัวดีแตการสงออกใน เดือนกรกฎาคมไดปรับตัวลดลงซึ่งแสดงถึงสัญญาณการชะลอตัวของ การสงออกภายหลังจากที่การสงออกเพิ่มขึ้นตอเนื่องตั้งแตตนปี
  4. แนวโน้มงออก การสงออกสินคาอาหารมีแนวโนมชะลอตัวลงใน ครึ่งหลังของป2550 คาดวาในไตรมาสสุดทายจะมีมูลคาสงออก 156,660 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 3.8 ซึ่งฟนตัวจากจุดต่ําสุดใน ไตรมาส 3 ที่ขยายตัวไดรอยละ 0.8 เมื่อรวมตลอดป2550 มูลคา สงออกสินคาอาหารจะมีมูลคา608,000 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 7.8 สินคาที่คาดวาการสงออกจะขยายตัวไดดีเชนขาว น้ําตาล มัน สําปะหลัง และปาลมน้ํามัน สวนสินคาที่มีแนวโนมขยายตัวต่ําหรือ หดตัวลง เชนกุงทูนาแปรรูป ปลาแชแข็ง ปลาหมึก และสับปะรด และปลากระป๋อง เป็นต้น

ภาวะอุตสาหกรรมอาหารของไทยช่วง 7 เดือนแรก และแนวโน้มไตรมาส 4/2550

 

1. ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมอาหาร

          ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอาหารของไทยเดือนกรกฎาคม 2550 ลดลงรอยละ 0.5 จากชวงเดือน เดียวกันของปี2549 ซึ่งเปนการลดลงตอเนื่องจากเดือนกอน โดยในชวง 7 เดือนแรกป 2550 ดัชนีผลผลิต อุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.4 ต่ํากวาคาเฉลี่ยชวงครึ่งปแรกที่ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 4.0

          ดัชนีผลผลิตสินคาอาหารที่เพิ่มขึ้นในชวง 7 เดือนแรกท่สําคัญ ไดแกน้ำตาลทราย เบียร ปลาแชแข็ง และน้ำมันปาลมบริสุทธิ์เพิ่มขึ้นรอยละ 36.3, 6.5, 3.7 และรอยละ 3.1 ตาม ลําดับ โดยการผลิตน้ําตาล ทรายเปนอุตสาหกรรมหลักที่สงผลตออุตสาหกรรมอาหารภาพรวมใหขยายตัวสูงขึ้น ซึ่งในชวงตนครึ่งหลัง ของปเปนชวงที่โรงงานนําน้ําตาลทรายดิบมาผลิตเปนน้ําตาลทรายขาว (Refined) สงผลใหดัชนีผลผลิตน้ําตาล ทรายขาวในชวงครึ่งปหลังยังคงปรับตัวสูงขึ้น

download PDF ย้อนกลับ

สถาบันอาหาร

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ เพื่อสถาบันอาหาร

2008 ซ.อรุณอมรินทร์ 36 ถ.อรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700

Google map

ติดต่อสอบถาม

Email : fic@nfi.or.th
หรือ Call center
contact-img

0-2422-8688 ต่อ 3121
โทรสาร : 02-4228527